พุทธศาสนากับ อาณาจักร ชิลลา
คำตอบมาจากคุณ ร้อยตะวัน เจ้าแม่ประวัติศาสตร์ ( ไม่เฉพาะเกาหลีนะคะ ..ขอบอก)
ได้ข้อมูล มาแต่เช้า ขณะยังขับรถอยู่ อาจมีเนื้อหาตกหล่นไว้ตามสี่แยกไฟแดง 2 – 3 แห่ง และยังขณะกลับบ้านอีก เหลือมาแค่ไหน ก็ไม่ว่ากันนะคะ
ศาสนาพุทธ เข้าไปใน ชิลลา ใน ค.ศ. 527 รัชสมัย กษัตริย์ Beopheung กษัตริย์พระองค์ที่ 23 ของชิลลา ซึ่งทรงครองราชย์ ในระหว่าง ปี ค.ศ. 514-540 ซึ่งล้าหลังกว่า โคคุเรียว 155 ปี และล้าหลัง แพคเจ 143 ปี
บนคาบสมุทรเกาหลี ในช่วงต้นๆ เชื่อเรื่อง ไสยศาสตร์มาก และ อาณาจักร ชิลลา เอง ก็ถือได้ว่า เกิดก่อนอาณาจักร โคคุเรียว
กษัตริย์ จูมง ทรงสถาปนา อาณาจักร โคคุเรียว เมื่อ 37 ปี ก่อน คริสต์ศักราช
ส่วนกษัตริย์ Hyeokgeose ต้นตระกูล Park รวบรวมอาณาจักร ชิลลา ในปี 57 ปีก่อนคริสต์ศักราช
( His surname was Park , which come from the Korean word for “ gourd” , because he was born from an egg shaped like a gourd )
ส่วนกษัตริย์ จูมง (Jumong is described as son of Hae Mosu ( heaven) and Yuhwa ( daughter of the river God Haback
นี่คือความเชื่อของบรรพบุรุษ ของคนบนคาบสมุทรเกาหลี ก่อนคริสตกาล ซึ่งหากย้อนไปให้นานกว่านั้น
เมื่อ5 พันปีมาแล้ว เกาหลี มี เทพบนสวรรค์ คือเทพฮวันอิน และโอรสสวรรค์ คือเทพฮวันอุง ซึ่งเป็นที่มาของต้นกำเนิด ทันกุน วังคอม อันเป็นการเริ่มต้น ประวัติศาสตร์ชนชาติเกาหลี หรือ หากจะถอยหลังไปอีก สัก 5 หมื่น ปี
เป็น ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ได้มีการขุดค้นพบเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำจากหินที่บ่งบอกถึงการตั้งถิ่นฐานบนคาบสมุทรเกาหลีซึ่งมีอายุประมาณ 50,000 ปี ทำให้ทราบว่ามีผู้คนอาศัยอยู่บนคาบสมุทรเกาหลีมาตั้งแต่สมัยยุคหินเก่าแล้ว หลังจากนั้นได้มีการค้นพบเครื่องปั้นดินเผาที่ทำจากดินเหนียวปนทราบประเภทไห ซึ่งมีลักษณะลวดลายเป็นแนวยาว โดยนักโบราณคดีได้เรียกเครื่องปั้นดินเผารูปแบบนี้ว่า “เครื่องมือเครื่องใช้ลายฟันหวี” เครื่องปั้นดินเผาแบบนี้นั้น พบมากในบริเวณเอเชียเหนือและแถบไซบีเรีย
นอกจากนี้แล้ว ยังพบเครื่องมือเครื่องใช้อื่นๆ เช่น หัวธนูและมีดที่ทำจากหิน ฉมวกและตาข่ายดักปลา ทำให้ทราบว่า บรรพบุรุษชาวเกาหลีในสมัยก่อนนั้น ตั้งถิ่นฐานอยู่แถบชายทะเล หาเลี้ยงชีพด้วยการจับปลาและล่าสัตว์ จากนั้น ก็ได้มีการขยายการตั้งถิ่นฐานเข้ามาด้านในของคาบสมุทรมากขึ้น ได้มีการริเริ่มทำการเพาะปลูกขึ้นแล้วในสมัยนี้ หลังจากนั้นแล้ว ก็ได้มีการรับเอาเทคโนโลยีการผลิตโละหะสัมฤทธิ์จากจีนมาใช้ทำเป็นอาวุธ
ชาวเกาหลีในขณะนั้น อาศัยอยู่ตามถ้ำ มีการรวมกลุ่มกันครอบครัว และรวมตัวกันเป็นสายตระกูล โดยมีชายที่มีอายุมากที่สุดในสายตระกูลเป็นหัวหน้า เมื่อหัวหน้าตระกูลตัดสินใจอะไร สมาชิกก็ต้องปฏิบัติตาม ยกเว้นการตัดสินใจในเรื่องสำคัญจะมีการปรึกษากันเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ชัดเจน นอกจากหัวหน้าสายตระกูลจะมีหน้าที่ทางด้านการปกครองแล้ว ยังมีหน้าที่ทางศาสนาด้วย ชาวเกาหลีในสมัยนั้นยังมีคติความเชื่อว่ามีวิญญาณในธรรมชาติและจักรวาล (Animism) และหัวหน้าตระกูลได้รับการยอมรับว่าสามารถติดต่อกับวิญญาณเหล่านี้ได้ ดังนั้น หัวหน้าตระกูลจึงต้องประกอบพิธีกรรมบวงสรวงวิญญาณเพื่อป้องกันเหตุร้ายแรงที่จะเกิดขึ้นกับสายตระกูลของตน
ที่มา: cyberlab มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ถ้าได้ดู ภาพยนตร์ ของอาณาจักร ชิลลา โบราณเรื่อง ตำนานรัก ทะเลสาบพันปี
( ดิฉัน รู้จักภาพยนตร์เรื่องนี้ เพราะ คุณ ร้อยตะวัน กรุณา ส่งมาให้ดู เกือบ สองปีแล้ว)
ภาพยนตร์ก็จะสื่อ ถึงความเชื่อ ในตำนาน ในเรื่องของไสยศาสตร์ ชัดเจนกว่า ตำนานในอาณาจักร พูยอ ของกษัตริย์ กึมวา และ โคคุเรียว ของกษัตริย์ จูมง รวมทั้งยุคของ องค์ชายทัมด๊ก ด้วย
อาณาจักร ชิลลา แบ่งเป็น 2 ช่วงสมัย
Silla ( Pre - Unification) ระหว่าง 57 ปี ก่อนศริสต์ศักราช ถึง ค.ศ. 661 ) มีกษัตริย์ 29 พระองค์
และ Later Silla ( Post- Unification) ระหว่าง ปี ค. ศ. 661- 935 มีกษัตริย์ นับต่อ จาก องค์ที่ 29 ของ Pre-Unification รวมทั้งสิ้นมีกษัตริย์ 55 พระองค์
Queen Seon Duk (MBC, 2009) กำลังออกอากาศที่ประเทศเกาหลีใต้
อาณาจักร ชิลลา เป็น อาณาจักรของเกาหลีที่เคยมี ราชินี ทรงเป็นผู้ปกครองอาณาจักร
คือใน รัชสมัยกษัตริย์ ลำดับที่ 27 คือ Queen Seondeok (ค.ศ.632- ค.ศ. 647 )
Queen Jindeok ( ค.ศ. 647-654)
และ ลำดับ ที่ 50 คือ Queen Jinseong (ค.ศ. 887-897)
ในรัชสมัยของ กษัตริย์องค์ที่ 23 ของ ชิลลา คือกษัตริย์ Beopheung
By the time of his reign, Buddhism had become fairly common in Silla, as it had been introduced much earlier by Goguryeo monks during King Nulji's reign.
( แทรก Nulji คือกษัตริย์ องค์ ที่ 19 ของชิลลา (ค.ศ.417-458 )ซึ่งจะตรงกับรัชสมัยของ กษัตริย์ Jangsu
กษัตริย์พระองค์ที่ 20 ของ โคคุเรียวซึ่งเป็นโอรสของกษัตริย์ กวางแกโต มหาราช ทรงครองราชย์ ในช้วง ค.ศ. 419-490)
One of King Beopheung's ministers, a man named Ichadon, was a Buddhist convert who had even shaved his head and took the tonsure. He constantly implored the king to adopt Buddhism as the state religion, and in fact King Beopheung himself had become fond of Buddha's teachings. However, the other ministers of Silla were greatly opposed to this, and expressed such defiance to the king. Beopheung, having been persuaded by his ministers, was at a crossroads, and encountered great reluctance to change. At this time, Ichadon suggested his own martyrdom and pleaded with the king to execute him in public for the cause of Buddhism. This the king refused to do, and so Ichadon deliberately insulted the ministers of the kingdom, thus provoking the anger of the king. In the end, Ichadon was executed in public, but before his head was cut off, he stated that the blood spilled from his body would not be red but milky white. According to the Samguk Yusa, his predictions proved correct, and Ichadon's milky blood horrified the ministers of the kingdom. As a result of Ichadon's matyrdom, King Beopheung finally chose Buddhism as the state religion. However, true Buddhist freedom in Shilla would not begin until the reign of King Jinheung reign.
( แทรก กษัตริย์ Jinheung กษัตริย์ องค์ ที่ 24 ของชิลลาทรงเป็นหลาน ของกษัตริย์ Beopheung ทรงขึ้นสู่บัลลังก์ราชันย์ด้วยพระชนม์เพียง 7 พรรษา
ทั้ง กษัตริย์ Beopheung และกษัตริย์ Jinheung ทรง เป็น กษัตริย์ ที่ยิ่งใหญ่ ของอาณาจักร ชิลลา)
สำหรับอาณาจักรชิลลานั้นมีวัดที่สำคัญในระดับโลกก็คือ วัดบุลกุกซา (Bulguksa Temple) อยู่ทางตอนเหนือของเมืองเคียงจู ตั้งอยู่กลางพื้นที่ลาดของภูเขาโตฮัมซาน เป็นวัดที่รัฐบาลเกาหลีใต้ขึ้นทะเบียนให้เป็นสมบัติสำคัญของชาติอันดับ 1 และในปี 1995 ได้รับการขึ้นทะเบียนจากยูเนสโกพร้อมกับถ้ำซอกกูรัม
วัดบุลกุกซาเริ่มก่อสร้างสมัยกษัตริย์เกียงด็อกแห่งอาณาจักรชิลลา และเสร็จสมบูรณ์เมื่อปี 774 เป็นวัดที่รวมสถาปัตยกรรมชั้นสุดยอดของเกาหลีใต้ และเป็นสิ่งก่อสร้างที่ชี้ให้เห็นรูปแบบของศิลปะในสมัยอาณาจักรชิลลา วัดบุลกุกซา (Bulguksa Temple) ตั้งอยู่บน เทือกเขาโตฮัมซาน (Mt. Tohamsan) วัดบุลกุกซารวมทั้งถ้ำซอกกุรามเป็นพินัยกรรมแห่งประวัติศาสตร์อันรุ่งเรืองของวัฒนธรรมแห่งพุทธศาสนาสมัยซิลลา
วัดถูกสร้างขึ้นในปี 528 และมีการก่อสร้างสิ่งต่างๆเพิ่มเติมขึ้นจนถึงปี 774 หลังจากนั้นก็ได้เบ่งบานเป็นศูนย์กลางแห่งวัฒนธรรมพุทธศาสนายุคซิลลา แต่เป็นที่น่าเศร้าว่าวัดถูกเผาจนแทบไม่เหลือซากในปี 1593 จากการรุกรานของญี่ปุ่น สิ่งที่บูรณะสร้างหลังจากไฟไหม้คือ หอแทอุงชอน (Daeungjeon Hall) และสถาปัตยกรรมอื่นๆอีกสองสามแห่ง-วัดถูกทอดทิ้งในช่วงปี 1969-1973 เมื่อมีความพยายามอย่างที่สุดในการค้นหาศิลปทางวัฒนธรรมอันหาค่าไม่ได้ในประวัติศาสตร์เกาหลี
จาก วิกิพีเดีย
จาก ชิลลา ในศตวรรษ ที่ 5 ขอเดินหน้าข้ามขุนเขาลำเนาไพร แต่ ไม่ข้ามทะเลหรอกนะคะ แม้ว่าชิลลาจะอยู่ติดทะเลก็ตามทีเพราะหากข้ามทะเลมา อาจ ออกไปนอก คาบสมุทรเกาหลี ไปเลย หรือ อีกที่ ก็ไปที่ แพคเจ แทนที่จะได้ ไป Goryeo
ที่Goryeo ในปี ค.ศ. 1330-1374 รัชสมัย กษัตริย์ กงนิม ทรงทำให้ ประเทศเกาหลี เกิดความเปลี่ยนแปลงตามมาหลังจากที่ อาณาจักร Goryeo ล่มสลาย เป็น อาณาจักรโซซอน
กษัตริย์ กงนิม ทรงสนิทสนมกับพระภิกษุ ชินดอน ซึ่งพระภิกษุ ชินดอน องค์นี้ ได้เดินทางไปศึกษาพระพุทธศาสนาในประเทศ ธิเบต และได้ พบ ตำรา หลักปรัชญา ขงจื้อ ที่แพร่หลายในประเทศธิเบต เมื่อกลับจาก ประเทศธิเบต ยังได้เดินทางไปประเทศจีน ก่อนที่จะเดินทางกลับมาที่ Goryeo
พระภิกษุองค์นี้ ได้นำตำราหลักปรัชญา โดยเฉพาะในเรื่องชนชั้น กลับมาเผยแพร่ให้กษัตริย์ กงนิม
แล้ว ลัทธิ ขงจื้อ ก็เริ่มแพร่หลาย ใน Goryeo
( หลักปรัชญานี้ จะแตกต่างอย่างสิ้นเชิงกับศาสนาพุทธ เพราะศาสนาพุทธ จะถือความเสมอภาค ไม่มีการแบ่งชั้นวรรณะ )
18 ปี ต่อมา หลัง กษัตริย์ กงนิม สิ้นพระชนม์ Goryeo ก็ล่มสลาย กลายเป็น อาณาจักร โซซอน โดย นายพล ลี ซองแก ของ Goryeo
หลักปรัชญาของขงจื้อ กลับยิ่งแพร่หลายไปทั่วอาณาจักร โซซอน
สมัยราชวงศ์โซซอน (ค.ศ.1392-1910) มีการยกย่องลัทธิขงจื้อกลายเป็นหลักปรัชญาในการบริหารประเทศ เป็นคติธรรมประจำชาติและสร้างสรรค์งานด้านวรรณศิลป์ บรรดา ปัญญาชนในสมัยโซซอนจึงผลิตงานศิลปะที่แสดงถึงอิทธิพลของลัทธิขงขื้อและศิลปะแบบจีน
( ข้อมูล โดย ร้อยตะวัน)
หากดิฉัน เขียนสิ่งใดผิดพลาดไป คุณ ร้อยตะวัน กรุณา แก้ไข ด้วยนะคะ
Shin Don
Decline and fall of Goryeo
The Mongol Yuan Dynasty dominated Goryeo when King Gongmin took over the throne. Forced to spend many years in the Yuan court, sent there in 1341 as a virtual prisoner before becoming a king, he married the Mongol princess Nogukdaejang Gongju (노국대장공주, 魯國大長公主). In the mid-fourteenth century Yuan dynasty began to crumble, soon replaced by the Ming dynasty in 1368. Gongmin attempted to reform the Goryeo government. In his first royal act, he removed all pro-Mongol aristocrats and military officers from their positions. King Gongmin followed that by attacking the Yuan.
Mongols had annexed the northern provinces of Korea after the invasions, incorporating them into their empire as Ssangseong (쌍성총관부, 雙城摠管府) and Dongnyeong (동녕부, 東寧府). The Goryeo army retook those provinces with the help of defector Yi Ja-chun, a minor Korean official in service of Mongols in Ssangseong, and his son Yi Seonggye. The campaigns of General Yi Seonggye and Ji Yongsu in Liaoyang also proved a major factor in the victory. Following the death of his wife, Nogukdaejang Gongju in 1365, King Gongmin became consumed with grief, losing his interest in the affairs of state, entrusting the throne to a monk Shin Don (신돈, 辛旽). Shin Don ruled for six years until killed by a court official close to him. From that time, Goryeo quickly slid toward collapse.
In 1388, King U and general Choe Yeong planned a campaign to invade present-day Liaoning of China. King U put general Yi Seong-gye (later Taejo) in command, but he stopped at the border and rebelled. Goryeo fell to General Yi in 1392. He then established the Joseon Dynasty.
Source :
http://www.imbc.com/broad/tv/drama/sindon/index.html
http://www.newworldencyclopedia.org/entry/Goryeo
ขอบคุณสำหรับข้อมูลนะคะ :D
ReplyDeleteละครพีเรียดของเกาหลีสนุก จนทำให้ตัวดิฉันเองก็มาหาประวัติศาสตร์ของเค้าอ่าน ^^
อ่านแล้วก็อยากให้ไทยมีละครอิงประวัติศาสตร์ที่สนุก น่าติดตามแบบนี้้บ้างนะคะ
เด็กๆ ที่โตมาจะได้รู้ว่า บรรพบุรุษของเรา เป็นยังไงกันบ้าง :D