5.2.09

배 용준 : 태국의 불교 의식 " 불교 만성절 [Magha Puja]" 세계 평화를위한 이벤트



Magah puja 2551 at Dhammakaya temple



배용준 : 태국의 불교 의식 : 불교 만성절 [Magha Puja] 세계 평화를위한 이벤트
불교 만성절 (Magha Puja) : 캔들 라이트 행사 목요일 2009년 2월 9일 Dhammakaya 사원,

수백 수천의 사람들이 이상 세계 각국 사원에서 Dhammakaya 여행.

우리가 함께 모여 우리는 평화와 화합의 축제에 대한 보편적인 사랑과 인류의,평화를 촛불을 조명과 함께 매년 명상.

여기서 당신이 여분의 일입니다 이벤트의 일부가 될 것입니다.

조심하고 금 웅장한 랜드마크 ,당신은 대양 촛불 조명에 자신을 발견할 것이다 의.

전 세계의 평화는 인류의 꿈이다.
모두가 평화를 위해 할 수있습니다.원한다면.

참여 우리와 함께, 불교 만성절 (Magha Puja) 우리와 함께 위대한 축하 축제 촛불과 평화를위한 명상

2009년 2월 9일, Dhammakaya Foundation 주님 부처님에게 축하 불교 만성절 (Magha Puja) 개최한다,

나,국제 사람들이이 행사에 참여를 초대하고 싶습니다.

축제 : 불교 만성절 (Magha Puja)

이 축제는 또한 또는 불교 만성절 (Magha Puja) 사중 국회로 알려져있다.

불교 만성절 (Magha Puja) 주 가장 중요한 두 번째 불교 축제입니다. 불교 또는 불교 공동체의 명예에 축하합니다 승려와 수녀
주님 부처님 들어서만을.

불교 만성절 (Magha Puja) 계몽 1250 스님 (arahants)의 불상을 듣기 위해 자발적인 모임을 기념 Veluvana Vihara에서 설교했다.

이 모임에서는 부처님 그의 첫 설교, 또는 Patimokkha의 암송 준 (수도원의 규칙과 질서를 규제).

스님 용어는 불교의 영적 공동체에 사용됩니다. 승려 주 불교에서, 또한 그들이 만들려는 노력은 실제 영적 공동체의 영적 공동체 형성을 둘 이상을 축하합니다.

불교에서 가장 승려없이 그 사회의 열망을 공유하거나 함께 우러러 봐, 영적인 삶 도전하는 것이 매우 소중합니다.

불교 만성절 (Magha Puja) 전통적인 선물 교환을위한 시간이다; 그것 서양 불교 비록 적은 동쪽에서 잘 알려져있다 가운데 눈에 띄는 축제되고있다.

축하 활동, 명상, 오일 램프 불빛, 그리고 불교의 실천으로 국민의 의지의 재확인.


Makha Puja : The Candle Light Ceremony
Thursday 9th February 2009 : Dhammakaya Temple, Thailand


WelCome and join our illumination ceremony on the Makha Puja Day, which this year falls on the full-moon day of 9th February. Every year, hundreds of thousands of people of various races and faiths from all over the world travel here to light a candle of peace and meditate together before the Dhammakaya Cetiya in a celebration of peace, universal love and unity of mankind.Come and be part of this extraordinary event. Watch this magnificent landmark turns gold and find yourself in an ocean of candlelight.

Festivals- Buddhist All Saints Day (Magha Puja) or Sangha Day
This festival is also known as Fourfold Assembly or Magha Puja Day.
Buddhist All Saints Day (Magha Puja) or Sangha Day is the second most important Buddhist festival. It is a celebration in honour of the Sangha, or the Buddhist community. For some Buddhists Sangha refers only to monks and nuns. It is a chance for people to reaffirm their commitment to Buddhist practices and traditions

Sangha Day commemorates the spontaneous gathering of 1,250 enlightened monks (arahants), to hear the Buddha preach at Veluvana Vihara.

At this gathering, the Buddha gave his first sermon,or recitation of the Patimokkha (the rules and regulations of the monastic order).

Sangha is the term used for the Buddhist spiritual community. On Sangha Day Buddhists celebrate both the ideal of creating a spiritual community, and also the actual spiritual community which they are trying to create.

The Sangha is precious in Buddhism as without those in the community to look up to or share aspirations with, the spiritual life would be very challenging.

Sangha Day is a traditional time for exchange of gifts; it has become a prominent festival among Western Buddhists even though it is less well known in the East.

Celebrations vary, but can include chanting, meditation, the lighting of oil lamps, and the reaffirmation of people's commitment to Buddhist practice.


วันมาฆบูชา


มาฆบูชา ย่อมาจาก มาฆปุรณมีบูชา หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะตามปฏิทินของอินเดียหรือเดือน 3 ตามปฏิทินจันทรคติของไทย และเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันหนึ่งของพุทธศาสนิกชน นั้นคือ วันมาฆบูชา ศาสนาพิธีที่สำคัญในวันนี้คือการจุดประทีปเพื่อบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

วันมาฆบูชา เป็นวันที่ระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญที่เกิดข ึ้นในสมัยพุทธกาล 4 อย่างคือ
1. พระสงฆ์ 1,250 รูปมาประชุมพร้อมกันโดยมิได้มีการน ัดหมาย
2. ท่านเหล่านั้นทรงอภิญญาล้วนเป็น เอหิภิกขุ คือได้รับอุปสมบทจากพระพุทธเจ้า
3. ท่านเหล่านั้นเป็นอรหันต์ทั้งสิ้น
4. วันที่ประชุมเป็นวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะ หรือเดือน 3

ด้วยเหตุการณ์ประจวบกับ 4 อย่าง จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าจาตุรงคสันนิบาต โดยประชุมกัน ณ พระเวฬุวัน หลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว 9 เดือน นอกจากนี้ วันที่พระองค์ทรงแสดง โอวาทปาฏิโมกข์ ดังนี้ :
ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา
ขันตี คือความอดกลั้น เป็นธรรมเครื่องเผากิเลสอย่างยิ่ง

นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา
ผู้รู้ทั้งหลาย กล่าวพระนิพพานว่าเป็นธรรมอันยิ่ง

น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี
ผู้กำจัดสัตว์อื่นอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิตเลย

สมโณ โหติ ปรํ วิเหธยนฺโต
ผู้ทำสัตว์อื่นให้ลำบากอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย

สพฺพปาปสฺส อกรณํ
การไม่ทำความชั่วทั้งปวง

กุสลสฺสุปสมฺปทา
การทำความดีให้ถึงพร้อม

สจิตฺต ปริโยทปนํ
การทำใจให้สะอาดบริสุทธิ์

เอตํ พุทฺธานสาสนํ
นี้เป็นคำสอนของพระพุทธศาสนา

อนูปวาโท อนูปฆาโต
การไม่พูดร้าย การไม่ทำร้าย

ปาติโมกฺเข จ สํวโร
การสำรวมในปาติโมกข์

มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ
ความเป็นผู้รู้ประมาณในการบริโภค

ปนฺตญฺจ สยนาสนํ
การนอน การนั่ง ในที่อันสงัด

อธิ จิตฺเต จ อาโยโค
ความหมั่นประกอบในการทำจิตให้ยิ่ง

เอตํ พุทฺธานสาสนนฺติ
นี้เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย

...อานิสงส์แห่งการถวายประทีปเป็นพุทธบูชา....

1. ย่อมเป็นผู้รู้คุณของพระรัตนตรัย ทำให้มีศรัทธามั่นคง
2. เป็นผู้มีความเคารพ มีสัมมาคารวะ
3. เป็นผู้มีดวงตาสดใส สวยงาม มองได้ไกล ดวงตาบริสุทธิ์บริบูรณ์
4. ทำให้เป็นผู้มีทิพยจักษุ (ตาทิพย์)
5. มีผิวพรรณผ่องใส มีจิตใจสดชื่นเบิกบาน
6. มีรัศมีกายสว่างไสว มีสติสัมปชัญญะ ไม่ประมาทในชีวิต
7. ทำให้มีปัญญาเฉลียวฉลาด มีปฎิภาณว่องไว แตกฉานในสรรพวิชชาทั้งทางโลก และทางธรรม
8. ย่อมไม่ไปเกิดในทุคติ
9. ย่อมได้ดวงตาเห็นธรรม บรรลุมรรคผลนิพพานโดยง่าย


No comments:

Post a Comment

Note: Only a member of this blog may post a comment.