25.5.10

[Interview] Apichatpong Weerasethakul talks about Uncle Boonmee.


[Interview] Apichatpong Weerasethakul talks about Uncle Boonmee.
Posted by Ryan Adams On May - 14 - 2010 / Cr. - forum.thaidvd.net
Repost : http://twssg.blogspot.com/

In the wake of today’s increased violence between Thai authorities and upcountry protesters who’ve taken over several blocks of Bangkok’s most popular shopping and tourist districts, Apichatpong Weerasethakul’s thoughts on Thailand’s tumultuous political history carry unexpected resonance. Could the heat of the crisis in this week’s news cycle have an effect on perceptions by the Cannes jury toward Weerasethakul’s film? From Filmofilia:



“A few years ago, while I was at my home town of Khon Kaen, I was given a little book called A Man Who Can Recall His Past Lives. It’s about Uncle Boonmee who recounts his multiple lives as humans and animals. I was thinking he must be a masochist because he always reborn in the northeast, where it’s arid and politically unstable.

เมื่อหลายปีก่อน ตอนที่ผมได้กลับไปเยี่ยมบ้านที่ ขอนเเก่น มีคนให้หนังสือกับผม หนังสือเล่มนี้ชื่อว่า "ชายที่สามารถรำลึกชาติที่เเล้วได้" หนังสือเล่มนี้เล่าเรื่องเกี่ยวกับ ลุงบุญมี โดยลุงสามารถรำลึกชาติที่เเล้วๆมาของเขาได้ ทั้งชาติที่เเล้วที่เคยเป็น คน เเละ สัตว์ ผมคิดว่าเขาเป็นคนที่ชอบความเจ็บปวด เพราะเขาเกิดในภาคอีสาน ภาคที่ เเห้งเเล้ง เเละ การเมืองไม่นิ่ง

I also like the fact that while Uncle Boonmee could remember for hundreds of years, we forget things in our lifetime, things like the tyranny of past regimes. So I travelled the northeast and focused on the idea of remembering. In the end, I settled at the village of Nabua in Nakhon Panom. It was one of the places the Thai army occupied from the 60s to the early 80s to fight so-called communists.

ผมชอบประเด็นที่ ในขณะที่ลุงบุญมี จะสามารถที่จะรำลึกชาติได้เป็นร้อยๆปี เเต่พวกเราเองกลับลืมสิ่งต่างๆในช่วงชีวิตอันสั้นๆเท่านั้น สิ่งต่างๆเช่น ผู้ปกครองบ้านเมืองที่กดขี่ในอดีต เพราะเช่นนี้ผมจึงเดินทางไปที่ ภาค อีสาน เเละ เพ่งความสนใจไปที่ ไอเดีย ที่เกี่ยวกับการ จดจำ ในที่สุดเเล้วผมได้ไปถึงที่สุดของจุดหมายที่ หมู่บ้าน นาบัว ที่ จังหวัด นครปฐม ที่หมู่บ้านนี้เป็นหมู่บ้านที่ทหารได้อาศัยอยู่ ตั้งเเต่ยุค 60 ถึงช่วงยุค 80 เพื่อใช้เป็นฐานในการต่อสู้กับฝ่าย คอมมิวนิสต์

While there is no obvious link between Boonmee and Nabua, that village is full of repressed memories. I decided to work there. I interviewed a lot of people but ended up not using the material. I just worked with the teens to build a spaceship and make our little movies. It’s my process of remembering the place.”

ในขณะที่ไม่มีข้อเกี่ยวข้องโดยตรงระหว่าง ลุงบุญมี กับ หมู่บ้าน นาบัว เเต่ หมู่บ้าน นาบัว เอง เป็นสถานที่ๆเต็มไปด้วย อดีตที่ขมขื่น ผมจึงได้ตัดสินใจที่จะทำงานที่หมู่บ้านเเห่งนี้ ผมสัมภาษณ์คนในหมู่บ้านหลายคน เเต่ สุดท้ายก็มีข้อมูลมากมายจากการสัมภาษณ์ ที่ผมไม่ได้นำมาใช้ โดยส่วนมากนั้น ผมทำงานกับเด็ก เพื่อที่จะสร้างยานอวกาศ เเละ สร้างภาพยนตร์ของเรา นี่คือกระบวนการของผมที่จะสร้างความทรงจำกับพื้นที่เเห่งนี้

Apichatpong Weerasethakul has quietly established himself as one of the most distinctive voices in world cinema, thanks to such woozy, fragmented and slippery works as Tropical Malady and Syndromes and a Century. He provoked the ire of the Thai authorities after refusing to cut four scenes from his last picture but he seems more relaxed about his name, which is often shortened to ‘Joe’. (Guardian UK)

Source: Awards Daily

No comments:

Post a Comment

Note: Only a member of this blog may post a comment.