7.12.12

[News] ‘Arirang’ makes Unesco list of cultural artifacts.


[News] ‘Arirang’ makes Unesco list of cultural artifacts.
Cr. - Joongang Ilbo / TWSSG TEAM

Korea’s traditional folk song “Arirang” was added to Unesco’s intangible cultural heritage list, a move welcomed by Koreans but also a reminder of the need to study and appreciate it more.

The United Nations body’s Intergovernmental Committee for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage decided to place the song on the heritage list during its seventh meeting Wednesday at Unesco headquarters in Paris.

“While dealing with diverse universal themes, the simple musical and literary composition invites improvisation, imitation and singing in unison,” Unesco said in a press release. “A great virtue is its respect for human creativity, freedom of expression and empathy. Everyone can create new lyrics, adding to the song’s regional, historical and genre variations, and cultural diversity.”



Although its origin is still elusive and the subject of study - as is the meaning of the word arirang - the song is so much more than just a song to Koreans. Some say it is another name for Koreans. Others say it is a “second national anthem.” Virtually all Koreans, even those living in North Korea and abroad, can sing at least part of it, most likely the refrain, “Arirang, arirang, arariyo.”

Royal families of the Joseon Dynasty (1392-1910) enjoyed performances of “Arirang.” A woman conscripted as a sex slave in Japan during World War II reportedly couldn’t remember her name, her hometown or her parents due to trauma, but was able to sing “Arirang.” Foreign soldiers who fought in the Korean War (1950-53) hummed the melody.



The reason “Arirang” lasted so long and was able to evolve through time is because it is so versatile: It can be interpreted as a love song, labor march or campaign anthem. Korean farmers and fishermen sang it as they worked. Independence fighters and democracy activities sang it in protests. It was also the main cheer at the 2002 FIFA World Cup co-hosted by Korea and Japan.

Experts say there are at least 60 versions of “Arirang” across the Korean Peninsula. The versions indigenous to Jeongseon (Gangwon), Jindo (Jeolla) and Miryang (Gyeongsang) are some of the most famous. In particular, the Jeongseon version, observers say, is the most lyrical. Regions like Jeongseon, Jindo and Miryang, which already hold festivals inspired by “Arirang,” welcomed Unesco’s decision.

But critics pointed out that South Korea only belatedly stepped up efforts to get “Arirang” on the Unesco list after China included it on its own national intangible cultural heritage list in May 2011, claiming that it is a folk song of an ethnic Korean group living in the northeastern part of the country.




The Cultural Heritage Administration said with the Unesco decision, it plans to adopt various measures to designate “Arirang” as Korea’s national intangible cultural heritage; give support to people and organizations working on its preservation; and create an “Arirang” archive that will gather some 337 related materials scattered all around.

“Korea wasn’t able to name ‘Arirang’ as a national intangible cultural heritage because the related law says there should be a person who possess the skills in the heritage,” Lee Ye-na of the administration’s international relations division said. “But a revision of the law has been proposed and with the revision, we believe ‘Arirang’ will soon be recognized as part of Korea’s heritage as well.”

The addition of “Arirang” to the Unesco list brought to 15 the number of South Korean items on Unesco’s Intangible Cultural Heritage of Humanity List. Others include the Royal Ancestral Rite and Ritual Music at the Jongmyo Shrine, and pansori, a traditional style of narrative song.


Arirang (Sad Song Version)

The photos in this clip were taken around 100 years ago,
The last several ones are pictures of Korean last royal family.




อารีรัง (아리랑): Arirang
Roytavan : Author

อารี รัง (아리랑) : Arirang บทเพลงอันเป็นตัวแทนของประชาชนชาวเกาหลีทั้ง 2 ประเทศ "อารีรัง" เป็นเพลงที่ร้องกันมาแต่สมัยโบราณ และถือเป็นประเพณีอย่างหนึ่งของชาวเกาหลี เมื่อใดก็ตามที่มีกิจกรรมร่วมระหว่างประชาชนชาวเกาหลีใต้และประชาชนชาว เกาหลีเหนือ ...เพลงอารีรัง...จะถูกนำขึ้นมาร้องทุกครั้งไป โดยถือเป็นธรรมเนียมปฎิบัติร่วมกันและที่สำคัญจะไม่มีการร้องเพลงชาติของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง นั่นเป็นการสื่อถึงความหมายการเป็นชนชาติเดียวกัน หากแต่ต้องตัดขาดความเป็นญาติพี่น้อง เพียงเพราะอุดมการณ์ความคิดทางการเมืองที่แตกต่างกัน

บนเส้นทางถนนซึ่งพาดผ่านช่องแคบภูเขาทอดยาวคดเคี้ยวคู่ขนานไปกับแม่น้ำดองกังแห่งยองวอล ...ทิวทัศน์ที่สวยสดงดงามประดุจสายรุ้งที่ทอดยาวสู่สรวงสวรรค์ของเมืองกัง วอนนั้น... กลับกลายเป็นเส้นทางแห่งความเศร้า...สุดแสนพรรณา... เมื่อสิ้นสุดสงครามภายในประเทศเกาหลี เส้นทางประวัติศาสตร์ที่เรารู้จักกันในนาม "Arirang Bypass" กลายเป็นถนนแห่งการพลัดพลาดของญาติพี่น้อง ครอบครัวและบุคคลอันเป็นที่รัก...และสุดท้ายกลายเป็นที่มาของบทเพลง อารีรัง ที่มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลกนั่นเอง




ความหมายของคำว่า อารีรัง (เกาหลี: 아리랑)
อารี รัง เป็นคำโบราณ มีความหมาย คือ สุดที่รัก หรือ ที่รักฉันคิดถึงเธอ เนื่องจาก คำว่า อารี (아리 - Ari) แปลว่า สวยงาม หรือแปลว่า คิดถึง ส่วนคำว่า รัง (랑 - Rang) หมายถึง ที่รัก

อารีรัง (Arirang : 아리랑)
อารี รัง (เกาหลี: 아리랑) เป็นเพลงพื้นบ้านเกาหลีที่รู้จักกันดีที่สุด ทั้งภายในประเทศเกาหลีและต่างประเทศ โดยเนื้อหาของเพลงนั้น จะเกี่ยวกับการเดินทางผ่านช่องแคบแนวเขา และมักจะเกี่ยวกับการจากลาจากคนรัก หรือสงคราม


รูปแบบของเพลงอารีรัง
เพลง อารีรังมีมากมายหลายรูปแบบ ซึ่งมากกว่า 1,000 แบบ แต่สามารถจำแนกกลุ่มออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ได้โดย ขึ้นอยู่กับเนื้อร้อง สร้อย ทำนองโดยรวม ฯลฯ ชื่อเพลงของอารีรังในแต่ละท้องถิ่น โดยอาจจะใช้ชื่อสถานที่หรืออาจใช้ชื่อสำคัญต่าง ๆมานำหน้าและต่อท้ายด้วยคำว่า อารีรัง...

เพลงอารีรังต้น ฉบับดั้ง เดิมนั้นคือ จองซอน อารีรัง เป็นเพลงท้องถิ่นโบราณนานกว่า 600 ปีแล้ว แต่บ้างก็กล่าวว่าเกิดขึ้นประมาณปี ค.ศ.1545 ส่วนอีกเพลง อารีรัง ที่รู้จักกันทั่วโลกนี้เป็นเพลงที่แต่งขึ้นในเกิดช่วงหลังสงครามเกาหลีซึ่ง นับได้ว่าค่อนข้างใหม่ เพลงนี้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย ตั้งแต่ได้ถูกนำไปใช้เป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องอารีรัง (1926) บางครั้งเพลงนี้ถูกเรียกว่า บอนโจอารีรัง (อารีรังมาตรฐาน), ซินอารีรัง (อารีรังใหม่), อารีรัง หรือ กยองกีอารีรัง (เนื่องจากมีต้นกำเนิดจากกรุงโซล ซึ่งเคยอยู่ในเขตจังหวัดกยองกี)

เพลงพื้นบ้าน"อารีรัง" แบบอื่น ๆ ที่มีประวัติยาวนาน ได้แก่
- จองซอนอารีรัง จากอำเภอจองซอน จังหวัดกังวอน
- จินโดอารีรัง จากอำเภอจินโด ในจังหวัดจอลลาใต้
- มีเรียงอารีรัง จากมีเรียง ในจังหวัดกยองซังใต้
- ปัลโดอารีรัง เป็นเพลงอารีรังที่รวมลักษณะต่าง ๆ ของเพลงอารีรังจากทุกท้องถิ่นเข้าด้วยกัน จึงเรียกว่าปัลโดอารีรัง
ซึ่งปัลโด แปลว่า 8 (เกาหลีโบราณทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็น 8 เมือง)


สร้อยเพลงอารีรัง

ท่อนที่ 1
아리랑, 아리랑, 아라리요...
아리랑 고개로 넘어간다.
나를 버리고 가시는 님은
십리도 못가서 발병난다.

Arirang, Arirang, Arariyo...
Arirang gogaero neomeoganda.
Nareul beorigo gasineun nimeun
Simnido motgaseo balbyeongnanda.

สุดที่รัก ฉันคงคิดถึงเธอมากเหลือเกิน
สุดที่รัก ข้ามภูเขาไปแล้ว...
เธอทิ้งฉันไว้ที่นี่ เพียงลำพัง
เธออาจจะเป็นอะไรไหม ? ก่อนที่เธอจะถึงจุดหมาย...

ท่อนที่ 2

청청하늘엔 별도 많고
우리네 가슴엔 꿈도 많다

Cheongcheonghaneuren byeoldo manko
Urine gaseumen kkumdo manta

เช่นเดียวกับดาวมากมายในท้องฟ้า,
หัวใจฉันก็มีความเศร้าโศกมากมายเช่นกัน

ท่อนที่ 3

저기 저 산이 백두산이라지
동지 섣달에도 꽃만 핀다

Jeogi jeo sani Baekdusaniraji
Dongji seotdaredo kkonman pinda

ภูเขาลูกนั้นคือภูเขาแบคตูซัน,
ที่ซึ่งมีดอกไม้ผลิบาน แม้ในวันสุดท้ายของฤดูหนาว 

...........................................................

No comments:

Post a Comment

Note: Only a member of this blog may post a comment.