ขอเพิ่มเติม เกี่ยวกับอาณาจักร โบราณของเกาหลี
มาอ่านพบว่า พระอนุชา ของ กษัตริย์ แทโช ( Daeso ) แห่ง โดงบูยอ (Dongbuyeo) คู่ปรับ ของกษัติรย์ จูมง ชื่อ Galsa ไปตั้ง Later Buyeo ในปี ค.ศ.21 สืบสันตติวงศ์ได้ 10 พระองค์ ก็ถูก ผนวก เป็น แผ่นดินของ โคคุเรียว ใน ปี ค.ศ 494 ( กษัตริย์ Buyeo ชื่อ Jan)
ย้อนกลับไปที่ โคคุริออ (โคคุเรียว )
เมื่อกษัตริย์ องค์ ที่ 3 สิ้นพระชนม์
กษัตริย์องค์ ที่ 4 Minjung (44 CE-48 CE )
กลับเป็นพระโอรส องค์ ที่ ห้า ของ กษัตริย์ Yuri เนื่องจากรัชทายาท โอรส ของ กษัตริย์ องค์ ที่ สาม ยังอยู่ในวัยแรกรุ่นชันษาเกินไป พระเจ้าอา Minjung จึงขึ้นเป็นกษัตริย์ ก่อน กษัตริย์ Minjung ไม่โปรดการทำสงคราม ดังเช่น สาม รัชกาล ก่อน เมื่อพระองค์ ครองราชย์ ทรงพยายามหลีกเลี่ยง การนำทหาร เพื่อการสู้รบ และทรงครองราชย์สมบัติ เพียง 5ปี (44 CE -48 CE )ในปี ที่ 2 ที่ครองราชย์ ได้เกิด อุทกภัย ที่ มณฑลภาคตะวันออก กษัตริย์ Minjing ทรงให้เปิดท้องพระคลัง แบ่งสรร อาหาร ออกมาแจกจ่าย อย่างเสมอหน้ากัน แต่ทรงมีพระชนม์ ไม่ยืนยาว ทรงประชวรและสิ้นพระชนม์ ( พออ่านพระนิสัยของ กษัตริย์ องค์ ที่ห้า Mobon ก็รู้สึกสงสัยในใจตัวเอง ว่า คงโดน ยาพิษหรือเปล่าหนอสงสัยแบบนี้ บาปกรรม บาปกรรม ถ้าไม่จริง)
พระโอรส องค์ โต ของ กษัตริย์ องค์ที่สาม Daemusin พระนามว่า Mobon ขึ้นครองราชย์ เป็น
กษัตริย์ องค์ ที่ 5 (48 CE- 53 CE)
ในปี 49 CE กษัตริย์ Mobon ไป โจมตีราชวงศ์ ฮั่น หลายครั้ง ในภายหลังมีการทำสนธิ สัญญา ระหว่างกัน Mobon ทรงดุร้าย ดื้อดึง และเหมือนว่า ประชาชน จะไม่ค่อยรักกษัตริย์ พระองค์ นี้
แปลก ที่ กษัตริย์ Yuri ทรงใช้ สกุล ของพระองค์ เองว่า Hae เป็น Hae yuri และพระโอรส Daemusin ซึ่งมีพระนามเดิมว่า Muhyul ก็ใช้ Hae Muhul (กษัตริย์ องค์ ที่ 3 ) กษัตริย์ องค์ที่ 4 Minjung ก็ ใช้ Hae Saek-Ju กษัตริย์ องค์ ที่ 5 Mobon ก็ใช้ Hae U ขอแทรก ทำความเข้าใจ กับคำว่า Hae และ Go
Buyeo
Buyeo (c.239-494 CE) ruled in modern-day Manchuria. The rulers continued to use the titles of Dangun[3]. Some records refer to Bukbuyeo (North Buyeo) and Dongbuyeo (East Buyeo). It was absorbed into Goguryeo.
See also: List of legendary monarchs of Korea
1. Haemosu of Buyeo 해모수 (239-195 BCE)
2. Mosuri of Buyeo 모수리 (195-170 BCE)
3. Go Haesa of Buyeo 고해사 (170-121 BCE)
4. Go Uru of Buyeo 고우루 (121-86 BCE)
[edit] Bukbuyeo
See also: List of legendary monarchs of Korea
(c.108 BCE–c.58 BCE)
1. Go Dumak of Bukbuyeo 고두막 (108-60 BCE)
2. Go Museo of Bukbuyeo 고무수 (60-58 BCE)
( ความเห็นค่ะ คนเล่า คืดว่า Go Jumong น่าจะสืบต่อ มาจาก Go Museo องค์ นี้ แต่ ทำไมในละคร และอีกหลายที่สื่อว่า จูมง เป็นสายเลือด แฮมูซู แต่ ก็อ่านเจอว่า แฮมูซู มีวงเล็บ ว่า โอรสสวรรค์ เล่าเอง งง เอง ค่ะ แล้วก็มา งง หนักเข้าไปอีก ที่ องค์ชาย ยูริ และพระโอรส พระนัดดา ใช้ HAE ขึ้นต้นชื่อค่ะ ผู้รู้ ช่วยไขข้อข้องใจหน่อยค่ะ เด็กสายวิทย์ อ่อน ภาษา แต่อวดดี เอาเรื่อง ไม่รู้จริงมาเล่า ไม่ถือว่าเล่า แล้วกัน นะคะ ถิอเสียว่า เอาข้อมูล ที่ ไปเจอมาจากแหล่งต่าง ๆมาสื่อสารกันต่อ คนเล่า สุดปัญญา เอาความรู้ ที่เคย ร่ำเรียนมา คือ วิชา DATA PROCESSING มาใช้ วิชา นี้ ใช้ศาสตร์ ที่ประกอบด้วยสูตรคำนวณ ยาวเหยียด มา ประมวลผลน่ะค่ะ แต่ เรื่องเล่า แบบนี้ต้องใช้ ศาสตร์ ที่เป็นศิลป มาประมวล เมื่อประมวลผลไม่ได้ ก็ต้องทิ้งค้างข้อความ ที่สงสัยน่ะค่ะ เช่น Haemosu และ Go Museo เป็นต้น นะคะ)
[edit] Dongbuyeo
(c.86 BCE–22 CE) The rulers of Dongbuyeo submitted to Bukbuyeo in 86 BC, and thus used the title Wang ("King").
1. Hae Buru of Dongbuyeo 해부루왕 解夫婁王 (86-48 BCE)
2. Geumwa of Dongbuyeo 금와왕 金蛙王 (48-7 BCE)
3. Daeso of Dongbuyeo 대소왕 臺素王 (7 BCE - 22 CE)
มาถึงกษัตริย์ องค์ ที่ 6. Taejo ( 53 CE- 146 CE)
ที่เปลี่ยนกลับมาใช้สกุล Go หรือ Ko เหมือนกษัตริย์ จูมง Go Jumong ( คนเล่าก็งง เพราะลอกเขามานี่นา) Taejo เป็นพระนัดดา ของ กษัตริย์ ยูริ เป็นโอรส ของ Jaesa ขึ้นครองราชย์สมบัติ หลัง เกิดการลอบปลงพระชนม์ กษัตริย์ Mobon ( Mobon คงร้าย มากๆ) กษัตริย์ Taejo อยู่ในราชสมบัติ 94 ปี และเป็น Taejo the great เสียด้วย ( กษัตริย์ Mobon มี พระโอรส IK และเป็นรัชทายาท แต่ไม่ได้ครองราชย์ ) หลัง Mobon สิ้นพระชนม์ สภา เสนาบดี ๆได้เสนอแต่งตั้ง Jaesa ขึ้นเป็นกษัตริย์ แต่ Jaesa ปฏิเสธราชบัลลังก์ ราชบัลลังก์ จึงเป็นของพระโอรส GUNG ชันษา เพียง 7 พรรษา ภายหลัง Gung ทรงเป็นกษัตริย์ Taejo โดยมี พระราชินีเป็นผู้สำเร็จราชการให้กับกษัตริย์ ที่ทรงพระเยาว์ ( งง ว่า ราชินีของใคร คือ พระมารดา ของ Taejo ซึ่งมา จาก บูยอ และถือว่า เป็น ราชินี เพราะ สภา มีการเสนอแต่งตั้ง Jaesa เป็น กษัตริย์ หรือเปล่า หรือราชินีของกษัตริย์เก่า) ไม่บอกว่า Jaesa เป็นพระโอรส องค์ ที่ 4 ของ กษัตริย์ ยูริ ( คนเล่า ลอง ไล่ลำดับดู ว่า น่าเป็น องค์ ที่ 4 น่ะค่ะ) และ ราชวงศ์ Go หรือ Ko ก็เริ่มเข้าสู่วังวน ของศึกสายเลือด แย่งชิงความเป็นใหญ่ เหมือน ราชวงศ์ กษัตริย์ ประเทศต่างๆ ที่เริ่มมาจาก มีการลอบปลงพระชนม์ Mobon กษัตริย์ องค์ ที่ 5
ใน ปี ที่ 94 ของรัชสมัย Taejo พระอนุชา Suseong
ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ องค์ ที่ 7 ทรงพระนามว่า Chadae ( 146 CE – 165 CE )
Chasae ทรงฆ่า พระโอรส ของกษัตริย์ Taejo ทั้ง 2 พระองค์ และยังฆ่า ทั้งพระเชษฐา กษัตริย์ Taejo และพระเชษฐา ซึ่งคั่นระหว่าง กษัตริย์ Taejo และกษัตริย์ Chadae เอง ในปี 165 CE รวมอีก 2 พระองค์
กษัตริย์ Taejo ทรงสวรรคตด้วยพระชนม์ 119 พรรษา อยู่ในราชสมบัติ 94 ปี (แสดงว่าทรงเป็น กษัตริย์เมื่อพระชนม์ 25 พรรษา ) กลายเป็นว่า ทรงมีพระชนม์ ยืนยาว กว่า กษัตริย์ จางซู เสียอีก โสมเกาหลีคงทำให้ อายุยืนจริงๆ
กษัตริย์ องค์ ที่ 8 Sindae ( 165 CE-179 CE)
บ้างก็ว่า ทรงเป็น โอรส ของ Jaesa คั่นระหว่าง กษัตริย์ Taejo และ กษัตริย์ Chadae บ้างก็ว่า เป็น โอรส ของ Taejo บ้างก็ว่าเป็นโอรสของ Chadae บ้างก็ ว่า Sindae เป็นผู้ปลงพระชนม์ Taejo และ Chadae ทรงขึ้นครองราชย์ เมื่อ พระชนม์ 77 พรรษา สวรรคต เมื่อพระชนม์ 91 พรรษา
ไม่แปลก อะไร กับ ศึกสายเลือด เช่นนี้ มีทุกชาติ ทุกศาสนา ทีเดียว โคคุเรียว แท้ๆ ยังมีศึกสายเลือด หลังสถาปนา อาณาจักร เพียง ไม่ถึง 100 ปี กษัตริย์ ถูกลอบปลงพระชนม์
ที่หาเรื่องมาเล่า ถึงองค์ ที่ 8 เพื่อ ค่อยๆ สื่อว่า ราชวงศ์ โคคุเรียว ก็ไม่รอดพ้น วังวน ศึกสายเลือด ดังนั้น ที่กาลต่อมา ทั้ง โคคุเรียว และ แพคเจ เมืองพี่ เมืองน้อง ต้องมา ราวี รบราฆ่าฟัน แผ่อำนาจเข้าหากัน ก็ เป็นเรื่อง ธรรมดา หากเพื่อนๆ ติดตามละครเรื่อง ซอยองโด ( อาณาจักร แพคเจ ) และ แดจังกึม ( อาณาจักรโซซอน ก็คงได้เห็นเช่นกัน)
และ มีราชินี ของกษัตริย์ องค์ ที่ 9 Gogukcheon (179 CE-197 CE ) ก็ ทรง เป็นราชินี ของกษัตริย์ องค์ ที่ 10 ด้วย
กษัตริย์ องค์ ที่ 10 Sansang (197CE -227 CE )
ซึ่งเป็นพระอนุชาของกษัตริย์ องค์ ที่ 9 กษัตริย์องค์ ที่9 นี้ ทรงมีราชินี ที่มีอำนาจทางการเมือง ชื่อ Lady U และเป็น Queen U กษัตริย์ องค์ ที่ 9 ไม่ทรงมี ทายาท (กษัตริย์ องค์ ที่ 9-10 เป็น พระโอรส ของกษัตริย์ องค์ ที่ 8 ) ที่แปลกกว่านั้น กษัตริย์ องค์ ที่ 10 ทรง มี Second Queen และ Second Queen นี้ มีพระโอรส ได้ เป็นรัชทายาท และสืบราชสมบัติเป็น
กษัตริย์ องค์ ที่ 11 Dongcheon ( 227 CE – 248 CE )
( ที่ Queen U ซึ่งมีอำนาจ ยินยอม ให้ มี Second Queen คงจะเพื่อ การมี รัชทายาท หรือเปล่าหนอ หรือไม่ทรงยินยอม แต่ไม่มีกล่าวถึงเรื่องนี้ )
เว่ย ส่งทหาร มารุกราน โคคุเรียว 1หมื่นนาย ยึดเมืองหลวง ของ ฮวันโด ได้ กษัตริย์ Dongcheon ให้ย้าย เมืองหลวง ไปอยู่ เปียงยาง ชั่วคราว และเรียกคืนดินแดนที่เสียไป คืนมาได้
กษัตริย์ องค์ ที่ 12 Jungcheon ( 248 CE -270 CE )
เป็น พระโอรส กษัตริย์ องค์ ที่ 11 ในราชสำนักวุ่นวาย พระอนุชา 2 องค์ ทรยศ และถูกประหารชีวิต พระราชินี Lady Yeon จาก Yeonna –bu จับ Lady Gwanna ถ่วงน้ำ ในทะเลเหลือง ด้วยความริษยา หึงหวง และมีการสงคราม กับ เว่ย (คงเป็นแคว้น ยันนา และกวานนา ที่ในละครจูมงกล่าวถึง 5 เผ่าของโชบน มังนะคะ 5 เผ่า ของละคร จูมง ประกอบด้วย เครุ บีเรียว ฮวานนา กวานนา และยันนา)
กษัตริย์ องค์ ที่ 13 Seocheon ( 270 CE -292 CE )
พระโอรส องค์ ที่ 2 ของกษัตริย์ องค์ ที่ 12 มีการรุกรานจาก ชาว Sushen ในปี 280 ทรงให้พระอนุชา Dal-ga ออกไปขับไล่ และได้รับชัยชนะ และได้ย้าย ชาว Sushen ไปอยู่ ที่ ทางใต้ของ บูยอ ทรงแต่งตั้งให้ พระอนุชาองค์ นี้ เป็น the Prince of National Peace (Prince An- guk ) และให้คอยควบคุม ศัตรูเหล่านั้น
มีพระอนุชา อีก 2 พระองค์ Go ll-u และ Go So –bal ก่อการจลาจล ต่อต้านพระองค์ ในปี ค.ศ. 286 พระอนุชา ทั้ง สอง ถูกฆ่าตาย
ขอข้ามเลยมา ถึง การเริ่มความขัดแย้งกับ อาณาจักร แพคเจ ในเมื่อ โคคุเรียว แท้ๆ ยังมีศึกสายเลือด แล้วแพคเจ จะไม่เกิด ศึกชิงความเป็นใหญ่ ได้อย่างไร หลังสถาปนา อาณาจักร เพียง 300 ปี
ในปี ค.ศ. 286 ทาง ด้านของแพคเจ ตรงกับกษัตริย์ องค์ ที่ 9 Chaekgye มีมเหสี ชื่อ Bongwa เป็น ธิดาของเจ้าเมือง Daifang ทางโคคุเรียว ก็ คือ Seocheon ทางโคคุเรียว ไปโจมตี Daifang แพคเจ ต้องส่งกองกำลังทหารไปช่วย Daifang
ต่อมา กษัตริย์ องค์ ที่ 14 ของโคคุเรียว Bongsang โอรสของ Secheon ขึ้นครองราชย์เป็น
กษัตริย์องค์ ที่ 14 Bongsang (292 CE -300 CE )
พระโอรส องค์โต ของ กษัตริย์ องค์ ที่ 13 เมื่อขึ้นครองบัลลังก์ ทรงหาเหตุ กับพระเจ้าอา Dal –ga ว่าเป็นกบฏ และทรงประหาร ประชาชน สับสนไม่เห็นด้วยกับความรุนแรงนี้ นอกจากนี้ยังบีบบังคับ พระอนุชา Go Dol –go ให้ ฆ่า ตัวตาย โอรสของพระอนุชา Go Dol –go ต้องหลบหนี เพื่อรักษาชีวิต ในปี 296 มี Murong Hui มารุกรานอีก และถูกขับไล่ออกไป Bongsang เป็นกษัตริย์ ที่ไม่ ฟังการทักท้วงของเสนาบดี และไม่เห็นแก่ ราษฎร ภายหลัง กษัตริย์ Bongsang และพระโอรส 2 องค์ ก็ถูกบีบบังคับให้ฆ่าตัวตาย และเชิญ พระโอรสของ Go Dol-go ขึ้นครองราชย์ เป็น
กษัตริย์ องค์ ที่ 15 Micheon ( 300 CE -331 CE)
ทรงใช้พระชนม์ หลบหนี ซ่อนตัวจากกษัตริย์ องค์ ที่ 14 จนได้ครองราชย์ ทรงเป็นกษัตริย์ นักรบ มีการทำศึก หลายครั้ง มีการผนวกดินแดนเพิ่ม
Micheon continuously developed the Goguryeo army into a very powerful force. During the disintegration of China's Jin Dynasty, he expanded Goguryeo's borders into the Liaodong Peninsula and Chinese commanderies. His first military campaign was in 302, against the Xuantu Commandery. He annexed the Lelang commandery in 313 and Daifang commandery in 314 after attacked Seoanpyeong in Liaodong.
In his reign, Goguryeo was faced with growing Xianbei influence in the west, particularly Murong Bu incursions into Liaodong. Micheon allied with other Xianbei tribes against the Murongbu, but their attack was unsuccessful. In 319, the Goguryeo general Yeo Noja was taken captive by the Murongbu. Throughout this period, Goguryeo and the Murongbu attacked each other's positions in Liaodong, but neither was able to gain a lasting victory.
Micheon died and was buried in 331 at Micheon-won. Twelve years later in the reign of King Gogugwon, his remains were dug up by the Former Yan invaders, and held for ransom.
กษัตริย์ องค์ ที่ 16 Gogugwon ( 331 CE – 371 CE )
โอรส ของกษัตริย์ Micheon Yan ได้มาโจม ตี และ พา ราชินี พระสนม และเชื้อพระวงศ์ ไปเป็นตัวประกัน ที่ Yan และเป็นอีกครั้งที่ย้ายเมืองหลวงชั่วคราว ไป เปียงยางอีก
He ruled at a time when the kingdom was quite weak, and had an ill-fated reign. He sent tribute to the Xianbei state of Former Yan after they invaded the capital in 342 and held the queen and royal concubines captive, in order to secure the return the corpse of King Micheon.
The capital was temporarily moved to Pyongyang, present-day capital of North Korea. In response to the expansion of the southern Korean kingdom Baekje, Gogugwon led an unsuccessful attack in 369. Baekje's king Geunchogo invaded in 371 and Geunchogo's son Geungusu killed Gogugwon in battle at Pyongyang Castle. He was buried in Gogugwon
ในปี ค.ศ. 369 ตรง กับสมัยกษัตริย์ แพคเจ ที่ 13 Geunchogo เป็นกษัตริย์ ที่เข้มแข็ง ได้ ผนวก ดินแดน ของเผ่า Mahan ( ชนเผ่า Mahan นี้มีความสำคัญ เกี่ยวกับอาณาจักร ชิลลา) รวมทั้ง กายา ก็เป็นเมืองขึ้น ของแพคเจ และยังได้ส่งทหารมาโจมตี โคคุเรียว ใน ปี ค.ศ.371 แพคเจ นำทหาร 3 หมื่นนาย นำโดย รัชทายาท GeunchogoZ (ต่อมา เป็นกษัตริย์ องค์ที่ 14 ของ แพคเจ) เป็นผู้สังหาร กษัตริย์ Gogugwon พระอัยกา (ปู่) ของ ทัมด๊ก ค่ะ ที่ ปราสาท เปียงยาง (และนี่คือ สาเหตุ ที่ในละครตำนาน จอมกษัตริย์เทพสวรรค์ ยอนโฮแก ใช้เป็นเหตุผล อ้างกับ ทัมด๊ก ที่รักษาการกษัตริย์ โคคุเรียว ในขณะนั้น ยกทหารอสาสาสมัคร ของตระกูล ยอน 4 หมื่นนาย ไปโจมตี แพคเจ )( และกษัตริย์ องค์ ที่ 14 ของแพคเจนี้ มีราชินี Lady Ai เป็น ธิดา ของ Jin Godo เสนาบดีใหญ่ ของราชวงศ์ JIN ( Eastern Jin Dynasty – ก็น่าจะหมายถึงราชวงศ์จิ้น ของจีน ซึ่ง มีทั้ง ราชวงศ์จิ้นตะวันออก ที่อพยพ โยกย้ายราชธานี ของราชสำนักจิ้น ตะวันตก ที่ล่มสลายลง ราชวงศ์จิ้น อยู่ในระหว่าง ปี ค.ศ.317-420 ราชวงศ์จิ้นนี้ เกิด ปลายยุค สามก๊กของจีน ในราชวงศ์ ฮั่น สับสน ดีจริงๆ ) นอกจากนี้ แพคเจ สมัยกษัตริย์ ที่ 13-14 ของแพคเจ นี้ ยังเป็น พันธมิตร ที่ดี ของ Wa kingdom of Yamato period Japan ด้วย.
กษัตริย์ องค์ที่ 17 ของโคคุเรียว Sosurim
พระโอรสของกษัตริย์ Gogugwon ( 371CE-384 CE)
ในปี ค.ศ. 372 ศาสนาพุทธ ได้เข้ามาในโคคุเรียว และทรงรับไว้ มีการสร้างวัด ให้พระสงฆ์ ที่เข้ามาในราชอาณาจักรและ
Also in 372, he also established the Confucian institutions of Taehak (태학, 太學) to educate the children of the nobility. In 373, he promulgated a code of laws called (율령, 律令), centrally codifying regional customs and acting as the national constitution.
In 374, 375, and 376, he attacked the Korean kingdom of Baekje to the south, and in 378 was attacked by the Khitan from the north
เผ่าคิตัน เป็นชนเผ่า หนึ่งของมองโกลเลีย
กษัตริย์ โซซูริม ไม่มี พระโอรส
กษัตริย์ องค์ ที่ 18 Gogugyang ( 384 CE-391 CE)
พระอนุชา ของกษัตริย์ โซชูริม พระบิดา ของ ทัมด๊ก
In the second year of his reign, Gogukyang sent 40,000 troops to attack the Chinese state of Yan in the Liaodong Peninsula. The Goguryeo army captured Liaodong and Xuantu, and took 10,000 prisoners. In that winter, Yan counterattacked and recovered both provinces.
In 386, the prince Go Dam-deok, the later King Gwanggaeto the Great, was designated heir to the throne.
Goguryeo attacked the southern Korean kingdom of Baekje in 386, which returned the attacks in 389 and 390. In the spring of 391, Goguryeo signed a treaty of friendship with King Naemul of Silla, another of the Three Kingdoms, and received Naemul's nephew Kim Sil-seong as a hostage.
กษัตริย์ องค์ ที่ 19 Gwanggaeto the Great of Goguryeo ( 391 CE -413 CE )
ทัมดัก ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัชทายาท ในปี ค.ศ. 386 (ด้วยพระชนม์ ตามละคร สื่อ คือ 11 พรรษา แต่ ถ้านับตามอ้างอิงนี้ ก็ 12 พรรษา)
Gwanggaeto the Great , means "Very Greatest King, Broad Expander of Territory, [bringer of] Peace and Security, [buried in] Gukgangsang.", sometimes abbreviated to Hotaewang or Taewang. He selected Yeongnak as his era name, and was called King Yeongnak the Great during his reign.
in the 2nd century CE. Upon King Gwanggaeto's death at thirty-nine years of age in 413, Goguryeo controlled all territory between the Amur and Han Rivers (two thirds of modern Korea, Manchuria, and parts of the Russian Maritime province and Inner Mongolia).
In addition, in 399, Silla submitted to Goguryeo for protection from raids from Baekjae. Gwanggaeto captured the Baekje capital in present-day Seoul and made Baekje its vassal. Many consider this loose unification under Goguryeo to have been the first and only true unification of the Three Kingdoms.
ขอตัด ทอน มาแค่นี้ เพราะมีรายละเอียด ความยิ่งใหญ่ของกษัตริย์พระองค์ ที่เพื่อนๆ ก็อ่านได้มากมาย และก็ยาวมากเลย
และตามเคยนะคะ ที่ยกภาษาอังกฤษมาทั้งท่อน ก็ ขอให้ท่าน อ่านเองแปลเองนะคะ เดี่ยวคนเล่า เล่าผิด น่ะค่ะ และที่เล่า มาข้างต้น ถ้าคนเล่า เล่าผิดพลาดอย่างไร ก็ไม่ว่า กัน แล้วกัน นะคะ ก็บอกแล้ว ว่า เล่า ขาน..ตำนาน.... เท่านั้น จะว่า เป็นพงศาวดาร คนเล่า ก็ยังไม่แน่ใจเลยค่ะ
ตำนาน คือ เรื่องราวนมนานที่เล่ากันสืบๆมา
พงศาวดาร คือ เรื่องราวของเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือ พระมหากษัตริย์ ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น
ทั้งนี้ เพราะ ไม่ทราบจริงๆ ว่า ที่คนเล่าอ่านมานั้นใครเขียนน่ะค่ะ ก็เลยถือว่า เป็นตำนาน ไปก็แล้วกันนะคะและที่เล่ามานี้ คนเล่า มีวัตถุประสงค์ ในขอบเขตของ เบื้องหลังการถ่ายทำ ละคร ตำนาน จอมกษัตริย์ เทพสวรรค์
ในที่สุด ก็ มาถึง กษัตริย์ องค์ที่ 19 ของโคคุเรียว แล้ว
Amornbyj : Writer
Copyright @ Amornbyj
*********************************************
Taken from "A New History of Korea" By Ki-baik Lee
Goguryeo (37 BC - AD 668) 고구려 高句麗
Goguryeo was one of the Three Kingdoms of Korea in the first millennium AD (along with Baekje and Silla), and fell to Silla in 668.
Goguryeo was ruled by the Go clan. Most Goguryeo rulers used the title Wang, or "King," but one exception to this was Gwanggaeto, who used the title Daewang, meaning "great king" or "emperor."
1. King Dongmyeongseong (Damul) (37 BC-19 BC) (also known as Jumong)
2. King Yuri (19 BC-AD 18)
3. King Daemushin (18-44)
4. King Minjung (44-48)
5. King Mobon (48-53)
6. King Taejo (Ryeungmu) (53-121 / 146) (also known as King Gukjo)
7. King Chadae (121 / 146-165)
8. King Shindae (165-179)
9. King Gogukcheon (179-197)
10. King Sinsang (197-227)
11. King Dongcheon (227-248) (also known as King Dongyang)
12. King Jungcheon (248-270) (also known as King Jungyang)
13. King Seocheon (270-292) (also known as King Seoyang)
14. King Bongsang (292-300) (also known as King Chagal)
15. King Micheon (300-331) (also known as King Hoyang)
16. King Gogukwon (331-371) (also known as King Gukgangsang)
17. King Sosurim (371-384)
18. King Gogukyang (384-391)
19. Emperor Gwanggaeto the Great (Youngrak) (391-413)
20. King Jangsu (Gunheung) (413-491)
21. King Munjamyeong (Myungchi) (491-519)
22. King Anjang (519-531)
23. King Anwon (531-545)
24. King Yangwon (545-559) (also known as King Yanggang)
25. King Pyeongwon (Daeduk) (559-590) (also known as King Pyeonggang)
26. King Yeongyang (Hongmu) (590-618) (also known as King Pyeongyang)
27. King Yeongnyu (618-642)
28. King Bojang (Kaehwa) (642-668)
http://www.chinahistoryforum.com/index.php?showtopic=1898&st=0
No comments:
Post a Comment
Note: Only a member of this blog may post a comment.