ตำนานโบราณเล่าขานถึงรื่อง เดือนมกราคม :
Roytavan : Writer
เดือนมกราคม หรือ January มีที่มาจากชื่อของเทพเจ้าโรมัน ชื่อ เจนัส(Janus )ต่อมาเรียกเป็น St. Januarius เป็นเทพเจ้าที่เฝ้าประตูสวรรค์และเป็นเทพเจ้าแห่งการเดินทาง หรืออีกนามก็คือ เทพเจ้าแห่งการเริ่มต้นไหม่หรือการมีชีวิตไหม่ "Lord of the Beginning" ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความอดทนและการรอคอยให้ได้มาซึ่งโอกาสที่ดีกว่า เป็นเดือนของการเกิดความหวังใหม่ เดือนนี้เป็นการทบทวนสิ่งเก่าๆที่ผ่านไปเพื่อเอาเป็นบทเรียนที่มาปรับปรุงให้ดีขึ้นหรือเป็นการนําของเก่ามาปรับปรุงไหม่ให้ดีขึ้นกว่าเดิม ซึ่งตามคัมภีร์โบราณได้ให้นิยามไว้หลายประการเช่น เดือนแห่งนํ้าค้างแข็ง เดือนแห่งการบริโภคอาหารได้น้อย เนื่องจากเป็นเดือนที่มีอากาศหนาว ชาวบ้านส่วนใหญ่จะบริโภคอาหารจากเสบียงอาหารที่ตนได้เตรียมการไว้ล่วงหน้าก่อนถึงฤดูหนาว เนื่องจากในฤดูหนาวพืชพันธุ์ธัญญาหารมักจะไม่ได้ให้ดอกออกผลเหมือนฤดูอื่น เมื่อเสบียงอาหารที่เตรียมไว้บริโภคร่อยหรอ ก็จำเป็นต้องแบ่งปันอาหารกันกินด้วยความประหยัดระมัดระวังเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้จนกว่าจะพ้นฤดูหนาวนั่นเอง
ปฎิทินฤดูกาลของศาสนาเพเกิ้นกล่าวไว้ว่า เดือนมกราคมเป็นเดือนของหมาป่า (Wolf Month) เป็นเดือนที่หนาวที่สุดเพราะอยู่กลางฤดูหนาว ซึ่งสัตว์ป่าที่สามารถดำรงชีวิตท่ามกลางอากาศที่หนาวเย็นที่ดีที่สุดก็คือ "หมาป่า" ฤดูนี้ธรรมชาติของมันจะออกมาหากินอยู่รอบชุมชนหมู่บ้านต่าง ๆ เพื่อหาอาหารและส่งเสียงเห่าหอน ท่ามกลางอากาศที่แสนจะโหดร้ายทารุณด้วยความหนาวเย็น ลมพายุ นํ้าค้างแข็ง แห่งเดือน
เมื่อใกล้จะสิ้นเดือนมกราคม ก็จะเริ่มมีสีสันอันสวยสดงดงามจากดอกไม้ชนิดหนึ่งเกิดขึ้นนั่นก็คือ โครคัส (Crocus) เป็นพืชที่มีหัวอยุ่ไต้ดิน(bulb)จะเริ่มออกดอกมีสีม่วงและสีขาว โผล่ขึ้นเหนือพื้นดินที่เต็มไปด้วยหิมะ ดอกโครคัส นี้จะทําให้ผู้คนรู้ว่าขณะนี้กำลังจะเริ่มฤดูกาลใหม่แล้ว และนั่นก็คือ ฤดูใบไม้ผลิ... ความเชื่อที่เกี่ยวกับอากาศในเดือนมกราคม ของชาวไร่ชาวนาในยุโรป ต่างก็เชื่อกันว่า ...ถ้าหากเดือนมกราคมอากาศไม่หนาวมากจะทําให้มีอากาศชื้นแฉะจนและก่อให้เกิดหญ้างอกบนพื้นดินได้ ถือว่าเป็นลางไม่ดีเพราะจะส่งผลให้ผลผลิตในไร่นาในปีนั้นตกตํ่าและได้ผลผลิตน้อย...เหมือนคํากล่าวที่ว่า
“ If the grass do grow in Javineer. It grows the worst for it all the year.”
History of January :
January is named after Janus (Ianuarius), the god of the doorway; the name has its beginnings in Roman mythology, coming from the Latin word for door (ianua) - January is the door to the year. Traditionally, the original Roman calendar consisted of 10 months, totalling 304 days, winter being considered a monthless period. Around 713 BC, the semi-mythical successor of Romulus, King Numa Pompilius, is supposed to have added the months of January and February, allowing the calendar to equal a standard lunar year (355 days). Although March was originally the first month in the old Roman Calendar, January became the first month of the calendar year either under Numa or under the Decemvirs about 450 BC (Roman writers differ). In contrast, years in dates were identified by naming two consuls, who entered office on May 1 and March 15 before 153 BC when they began to enter office on January 1.
Various Christian feast dates were used for the New Year in Europe during the Middle Ages, including March 25 and December 25. However, medieval calendars were still displayed in the Roman fashion of twelve columns from January to December. Beginning in the sixteenth century, European countries began officially making January 1 the start of the New Year once again — sometimes called Circumcision Style because this was the date of the Feast of the Circumcision, being the eighth day from December 25.
Historical names for January include its original Roman designation, Ianuarius, the Saxon term Wulf-monath (meaning wolf month) and Charlemagne's designation Wintarmanoth (winter / cold month).
伝説 1月
1月は「英語」では、「January」である。それは、ローマ神話の守護神ヤヌス(Janus)に
由来する。それは、万物の支配をしている光の原初神Dianus(ディアヌス)が起源で、ギリシアでは、Zan(=ゼウス)、ラテン読みでは「ヤヌス」と呼ばれていたようです。
そして、古代ローマでは、守護神ヤヌス(Janus)にちなんで、「Januarius」という月にしていたのですが、
実は、もともと1月ではなかったのです。どうして1月になったのでしょうか?暦はローマ帝国の時代に作られたが、もともと月は1月から10月までしかなく、現在の3月のMarchが1月にあたっていた。それまでは、太陰暦を使用していた。紀元前710年ごろまで ロムルス・レムス暦という太陰暦を使用していて、その暦では、1年をMarutius(現在の3月)からDecember(デセンベル 現在の12月)までの 10ヵ月304日として、残りの余った日々を「死の季節」とした。
紀元前710年以降は、太陰暦のヌマ暦が採用され、「死の季節」を2分割したのが、ローマ神話の守護神ヤヌス(Janus)にちなんで「Januarius」「清めの祭礼」を意味する語 (Februa)にちなんで「 Februarius」
としていた。
そして、ユリウス・カエサルの治世となっていた 紀元前46年に、カエサルは完全な太陽暦の暦を採用するに
あたって、1年の最後の方の「死の季節」にローマ神話の守護神ヤヌス(Janus)にちなんで 命名された「Januarius」が用いられていることに対して 「Januarius」が最後の方になっているのは、神に対して失礼だ、という事で「Januarius」を1年の初めにもってきて、「Januarius」が1月になったのであった。
1월(January)
1월(January)1월의 의미인 야누스(Janus)는 원래 야만인이었던 인간을 이성을 가진 인간으로 변모하게해 준 신의 이름입니다. 야누스는 그리스신화에 등장하지 않는 고유한 로마의 신이다. 현재도 야누스의 두얼굴이라하여 자주 인용되고 있는데 야누스는 인간에게는 좋은 신이었습니다. 누마 폼필리우스는 인간의 이성을 강조하여 첫달에 이름을 붙였다고 합니다....
1월 (January : Ianuarius) - ianuarius는 Janus신의 형용사형입니다. Janus신은 양면의 얼굴을 가진 형상으로 유명한데, 문을 뜻하는 라틴어 ianua와 관련이 있는 신입니다. 문은 한 쪽의 끝과 동시에 다른 한 쪽의 시작을 나타냅니다. 그래서 첫 달은 Janus의 이름이 붙여졌습니다. 1월에 Janus의 축제가 있었다고 합니다. 영어에 같은 어원을 가진 단어로는 janitor가 있는데, '수위'란 뜻입니다. ...
No comments:
Post a Comment
Note: Only a member of this blog may post a comment.