27.6.09

King Naresuan The Greart of Siam (Film) / Best Filmmaker Scene by Scene of Asia-Pacific 2008.




The Legend of King Naresuan



Directed by HSH Prince Chatrichalerm Yukol
Produced by Kunakorn Sethi
Written by HSH Prince Chatrichalerm Yukol / Sunait Chutintaranond
Starring : Wanchana Sawatdee / Chatchai Plengpanich / Intira Jaroenpura / Sorapong Chatree / Sompop Benjatikul
Music by Richard Harvey



Distributed by Prommitr International Production / Sahamongkol Film International

Release date(s) Part I
January 18, 2007
Part II
February 15, 2007
Part III Cancelled
Country Thailand
Language Thai
Budget 700 million baht



--------------------------





The Legend of King Naresuan (Thai : ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช, Tamnan Somdej Phra Naresuan) is a two-part 2007 Thai biographical historical drama film about King Naresuan the Great, who ruled Siam from 1590 until his death in 1605.


The films are directed by Chatrichalerm Yukol and are a followup to his 2003 film, The Legend of Suriyothai. Part I, Pegu's Hostage, was released on January 18, 2007. Part II, Reclaiming Sovereignty, was released on February 15, 2007. A third part was initially expected to be released on December 5, 2007, in celebration of King Bhumibol Adulyadej's 80th birthday, but that release date has been pushed back to later in 2008. Filming on part III is expected to begin in early 2008, with Tony Jaa among the featured actors.


Part I deals with Naresuan's boyhood, when he was taken hostage by Burmese King Bayinnaung to keep the vassal Ayutthaya Kingdom subservient. During this time, he was a novice Buddhist monk under the tutelage of a wise father-figure monk (Sorapong Chatree). Part II depicts Naresuan as a young adult prince, already a formidable military strategist, as he leads his army on exploits against breakaway kingdoms for King Bayinnaung's successor, King Nonthabureng, and eventually breaks away to declare sovereignty for Siam. Part III was to depict Naresuan's military and leadership skills and the expansion of the Siamese kingdom.


In production for more than three years, the project has an estimated budget of 700 million baht, making it the most expensive Thai film made.



As King of Fire, part II was selected as Thailand's submission to the 80th Academy Awards for Best Foreign Language Film.





CNN Scene by Scene Film of Asia Pacific (Chatrichalerm Yukol)



Synopsis : Plot


Part I: Pegu's Hostage


The Pegu forces of King Bayinnaung overrun Phitsanulok, ruled by King Thamaracha, who had hoped for help of forces from Ayutthaya, but King Chakrapadi needed the troops to protect his own city. Bayinnaung demands that Prince Naresuan, the young son of Thamaracha, be given to him as a hostage to ensure Phitsanulok's loyalty. Bayinnaung then takes Naresuan on his military campaign to Ayutthaya, schooling the boy in the ways of war. Ayutthaya falls and becomes a vassal state of Pegu, with Thamaracha installed as its leader.
In Pegu, Naresuan is treated as a son of Bayinnaung and afforded all the comforts and respect due to a prince. He rides his horse into "Siamese town" near the palace, home to Siamese refugees of the war, and rescues another boy who is being chased by a mob because he stole some food. The unkempt street urchin does not know his name so the head monk, Khanchong, names him Bunting. Naresuan is then ordained as a novice monk in the Buddhist temple, and Bunting is made a temple boy. The two friends then befriend a temple girl, Manechan. The three children engage in various sorts of mischief, including taking part in cockfighting, despite the orders of Khanchong. Under Khanchong's tutelage, Naresuan learns more about martial arts and methods of war.
Bayinnaung, meanwhile, is continuing his campaign to consolidate control of Siam. Naresuan's older sister, Princess Supankulayanee is brought to Pegu to also serve as a consort to the king. With his sister now held hostage, the young Naresuan decides it is time for him to return to Siam. Already showing superior fighting skills, he attracts a band of loyal fellows and makes his escape.




Part II: Reclaiming Sovereignty


Many years have passed since Naresuan returned home to Siam. Now the ruler of Phitsanulok, the adult Prince Naresuan has attracted more followers to his army. His aide-de-camp is his boyhood friend, Bunting, now christened Lord Rachamanu. Naresuan's fighters include an African warrior and a Japanese samurai. Word is received in Ayutthaya that King Bayinnaung has died. Ayutthaya King Thamaracha believes it is important that he go and pay respects, but his son Naresuan, having been raised in Pegu and who regards Bayinnaung as a second father, convinces Thamaracha to let him go.
In Pegu, representatives of nearly all the kingdoms in the realm gather to pay respects to the departed Bayinnaung and also swear loyalty to the new king, Nonthabureng. Naresuan and Bunting are reunited with their childhood friend Manechan, who is now a lady in waiting to Princess Supankulayanee, Naresuan's sister, who was made a consort of Bayinnaung. Naresuan and Manechan share an immediate romantic connection.
One of the Pegu vassal states, Khang, did not send a representative, so Nonthabureng orders three armies to attack the kingdom. Naresuan takes his army into the fight. The first two armies fail in their attack of the impenetrable fortress of Khang, which is defended by fierce archers commanded by Princess Lurkin, daughter of the Khang king. Naresuan, held in reserve, finds a way to penetrate the city's rear entrance and storms the city. Bunting trades blows with Lurkin and is enchanted by the fierce warrior princess. He chases her down and persists with his romantic overtures until she surrenders to him.
Naresuan now must look for a way to return to Siam. Nonthabureng's son, Prince Upparaja, is jealous of Naresuan's military prowess and surmises that Naresuan is going to betray Pegu. He plots various attacks against Naresuan, including sending a band of headhunters to attack Naresuan.
At a river crossing back into Siam, Naresuan finds his forces under attack. With his army across, Naresuan is given a long rifle by his tutor, the monk Khanchong. Naresuan takes aim at the Pegu commander across the mile-wide river and fires, killing the man and firing the first shot in a declaration of independence for Siam.

Part III: ....Sword.....


Reception


Part I
King Naresuan Part I: Hongsawadee's Hostage, grossed more than 100 million baht on its opening weekend, despite some production problems with the film. After a world premiere screening on January 16, director Chatrichalerm Yukol continued to edit the film. On opening day, January 18, 2007, prints of the film were still not ready for wide distribution, and were delivered late in the day in Bangkok cinemas and screenings were canceled in the provinces.
Part I received mixed reviews in the local media. The Bangkok Post said the film was "torn between the need to be a serious historical movie and popular entertainment for the masses." But The Nation called it "a beautiful movie, planned to meticulous detail with the exotic designs and colors of the royal dresses, golden palaces and exotic temples." The Nation also hosted a forum for readers to comment on the film.





Part II


King Naresuan Part II: Reclamation of Sovereignty, premiered in a wide theatrical release in Thailand on February 15, 2007. The #1 film at the Thailand box office for several weeks, it earned US$7 million.
Critical reception was more favorable than the first installment. Kong Rithdee of the Bangkok Post said: "Surprise, surprise: Naresuan II is good fun. The pacing crisp, the acting passionate, the warfare intense."
Jeerawat Na Talang, columnist for The Nation, wrote on her blog: "This is simply the best Thai film I have seen in years ... Compared to the first one, the sequel is better such as in terms of cast and editing."
Submitted as King of Fire, Part II was Thailand's entry to the 80th Academy Awards for Best Foreign Language Film.


Part II was also the opening film at the 2007 Cinemanila International Film Festival, and both films were screened out of competition in the Thai Panorama section of the 2007 Bangkok International Film Festival.



HSH Prince Chatrichalerm Yukol

หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล / HSH Prince Chatrichalerm Yukol


HSH Prince Chatrichalerm Yukol /His Serene Highness Prince Chatrichalerm Yukol (Thai: หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล, born November 29, 1942) is a Thai film director, screenwriter and film producer. A prolific director since the 1970s, among his films is the 2001 historical epic, The Legend of Suriyothai. A member of the Thai royal family, his official royal title is Mom Chao, or M.C., the most junior title still considered royalty. He is theoretically 19th in line for the Thai throne. He is widely known by his nickname, Than Mui. For Suriyothai as well as his 2007 historical epic, King Naresuan, Chatrichalerm received the support of Queen Sirikit.
Four of his films have been submitted by Thailand for the Academy Award for Best Foreign Language Film: The Elephant Keeper, Song for Chao Phya, Daughter 2 and King of Fire.





หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน 2485 - ) ประสูติเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485 เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ และหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา รู้จักกันในนามลำลองว่า ท่านมุ้ย ในฐานะผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้เขียนบท ผู้อำนวยการผลิตภาพยนตร์
หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ทรงคุ้นเคยกับการสร้างภาพยนตร์ตั้งแต่เยาว์ เนื่องจากตามเสด็จพระบิดา และหม่อมมารดา ผู้บุกเบิกภาพยนตร์ไทย และก่อตั้งบริษัทละโว้ภาพยนตร์ ซึ่งผลิตภาพยนตร์เรื่องแรกเมื่อ พ.ศ. 2481
หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ทรงศึกษาชั้นมัธยมที่วชิราวุธวิทยาลัยและโรงเรียนมัธยมที่เมืองเมลเบิร์น ออสเตรเลีย ทรงสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยยูซีแอลเอ เอกสาขาธรณีวิทยา และโท สาขาภาพยนตร์ เป็นเพื่อนร่วมห้องเรียนกับฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา และโรมัน โปลันสกี้ ในระหว่างศึกษาชั้นปริญญาตรีทรงฝึกงานเป็นผู้ช่วยในทีมงานของ มีเรียน ซี. คูเปอร์ ผู้กำกับ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์เรื่อง ช้าง (1927) และ คิงคอง (1933)


ทรงเริ่มเขียนบท และกำกับละครโทรทัศน์ เรื่อง "หญิงก็มีหัวใจ" ในปี พ.ศ. 2501 ถวายพระบิดา จากนั้นทรงก่อตั้ง บริษัท พร้อมมิตรภาพยนตร์ (ตั้งชื่อตามชื่อซอยพร้อมมิตร ที่ตั้งของวังละโว้ วังของพระบิดา) มีผลงานกำกับละครโทรทัศน์ "ห้องสีชมพู" (2512) , "เงือกน้อย" (2515) , และ"หมอผี" (2516)
ทรงกำกับภาพยนตร์ "มันมากับความมืด" เป็นเรื่องแรก เมื่อ พ.ศ. 2514 และ ทรงได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ดีเด่น พ.ศ. 2516 จากเรื่องเขาชื่อกานต์ และส่งให้สรพงศ์ ชาตรี เป็นพระเอกยอดนิยมต่อมา






สมเด็จพระนเรศวร แห่งกรุงพระนครศรีอยุธยา
คัดลอก บทความมาจาก วารสาร e-lang วารสาร ที่ มีคุณค่า น่าแสวงหามาอ่าน
เพื่อเผยแผ่ พระเกียรติ ของสมเด็จพระนเรศวร มหาราช ซึ่ง ประชาชนทั่วไป อาจไม่เคยรับทราบข้อมูลนี้มาก่อน

พระองค์ดำ
โดย อยุทย์ สยามไชยา
ในการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยานั้น นักประวัติศาสตร์จะต้องอาศัยเอกสารชั้นต้นภาษาต่างประเทศ อาทิ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาดัทช์ และภาษาจีน ที่ชาวต่างประเทศเขียนไว้อ่านประกอบกับเอกสารของฝ่ายไทยด้วย ในบทความนี้เราจะได้ศึกษาบทอ่านภาษาอังกฤษ สั้นๆ


Peter Floris ได้เดินทางมากรุงพระนครศรีอยุธยาและบันทึกถึงกรุงพระนครศรีอยุธยา และพระองค์ดำ ซึ่งหมายถึงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ไว้ ในที่นี้เราจะนำเสนอบทอ่านโดยคงตัวสะกดภาษาอังกฤษ ไว้ดังเดิม ทุกประการ... และจะนำเสนอตัวสะกดสมัยใหม่ไว้เพื่อประกอบการศึกษาด้วย... แต่ เราได้นำเสนอบทอ่านที่ปรับแก้แล้ว และบทแปล เบื้องต้น ไว้ด้วย
( ขอเสนอบทแปลก่อน นะคะ ส่วนบทอ่านตัวสะกดภาษาอังกฤษเดิม ขอตัดทิ้ง แต่นำบทอ่านที่ปรับแก้ มาเสนอนะคะ)


สยามเป็นชาติโบราณ และทรงอานุภาพยิ่งเสมอมา ทว่าภายหลังถูกพระเจ้าหงสาวดี (๑ )ปราบ และกลายเป็นเมืองออก ทว่าก็คงสภาพเช่นนั้นไม่นาน ด้วยพระเจ้าแผ่นดินพระองค์นี้ซึ่งกำลังจะสวรรคต มีพระราชโอรส 2 พระองค์ (๒) ซึ่งจำเริญวัย ณ ราชสำนักหงสาวดี แลทรงหลบกลับมาแต่นั้น สู่สยาม โดยที่พระองค์โตทรงพระนามเป็นภาษามลายูว่าราชา อาปิ หรือราชาไฟ ทว่าชาวปอร์ตุเกส และชนชาติอื่นๆ เรียกพระองค์ว่า พระองค์ ดำ


Siam is an ancient Kingdom and hath always been very mighty, but afterwards it hath been subdued by the King of Pegu, becoming a tributary unto him. But it continued not long in that estate, For this King, Dying, left issue 2 sons, which were brought up in the Kings court of Pegu; who flying from thence to Siam, whereas the eldest, called Raja Api, in the Malays language the Fiery King, but by the Portuguese and other nations the Black King….


๑ หมายถึง พระเจ้าบุเรงนอง
๒ .หมายถึงพระมหาธรรมราชา พระราชบิดาในสมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถ
Pegu คือ พะโค คือหงสาวดี อย่าสับสนกับ Pagan ซึ่งหมายถึงเมืองพุกาม



สมเด็จพระนเรศวร และการระหว่างประเทศ ในภูมิภาคตะวันออก
โดย นามตระการ แก้วอรรณเรือง


เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทยที่สำคัญที่สุดเหตุการณ์หนึ่ง ซึ่งนักเรียนไทยระลึกถึงได้คือ
การยุทธ์ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระมหาอุปราชาแห่งกรุงหงสาวดี การยุทธ์ ครั้งนั้นจบลงด้วยชัยชนะของกรุงศรีอยุธยาและการปราชัยของหงสาวดี การเผชิญหน้าครั้งนี้ยังแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของจอมทัพแห่งราชอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ทั้งสองแห่งอุษาคเนย์ แม้เรื่องนี้จะเป็นที่นิยมในประวัติศาสตร์ไทย ทว่านักเรียนจำนวนน้อย ที่จะตระหนักว่าแท้ที่จริงแล้ว
สมเด็จพระนเรศวรทรงเป็นวีรกษัตริย์ที่พระเกียรติคุณแผ่ได้นั้น แผ่ขยายไปไกลเกินดินแดนสยามนัก และน้ำพระทัยอันหาญกล้านั้นเป็นที่เลื่องลือไปทั่ว บุรพทิศทีเดียว


One of the most important historical scenes recalled by Thai students in their studies is the story of the single combat between King Naresuan and the Viceroy of Hantawadi.The combat ended with a victory for Ayuthaya and a defeat for Hantawadi. The story of this confrontation depicts the determination of two courageous lords of two great Kingdoms of southeast Asia .Despite the popularity of this story in Thai history, however, few students realize that in actual fact, King Naresuan was respected far beyond the borders of Siam, and his brave heart was highly acknowledged throughout the East.


จดหมายเหตุ หมิ่งสื่อ ซึ่งเป็นจดหมายเหตุ ของราชวงศ์ หมิงได้บันทึกว่า ฮิเดโยชิ ส่งสาสน์ไปทั่วภูมิภาคตะวันออกให้ราชอาณาจักรและแว่นแคว้นต่างๆ อาทิ ต้าหมิง (จีนสมัยราชวงศ์หมิง) ริวกิว ลูซอน และกรุงศรีอยุธยาส่งบรรณาการ ครั้น พ.ศ.2135 ฮิเดโยชิก็ได้ส่งกำลังไปเกาหลีจริงๆ สาสน์ของ ฮิเดโยชิไม่ใช่เพียงคำกล่าวผ่าน ครั้งนั้นสมเด็จพระนเรศวรทรงครองสิริราชสมบัติแห่งกรุงศรีอยุธยา พระองค์ทรงส่งคณะฑูตแจ้ง ต้าหมิง ณ กรุงปักกิ่งว่า ทางกรุงศรีอยุธยาพร้อมจัดส่งทัพร่วมกับต้าหมิง กระหนาบตีทัพของ ฮิเดโยชิ เพื่อรั้งไม่ให้ ฮิเดโยชิ ขยายอำนาจ ทาง ต้าหมิงได้จัดงานเลี้ยงต้อนรับคณะทูตจากกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2135


The Ming shi chronicles, which are the official record of Ming dynasty, report that Hideyoshi sent epistolary messages from Japan to Kingdoms and principalities such as Da Ming ( China in the Reign of the Ming) Ryugu, Luzon, and Ayuthaya demanding that they send tribute to him in 1592,Hideyoshi actually sent an army into Korea; his words were not just casual messages. In those days King Naresuan sat on the throne of Ayuthaya. In the same year, the King sent a mission to Beijing to inform Da Ming that Ayuthaya was ready to undertake a joint effort of outflank Hideyoshi ’ forces and to curb the latter ‘ s invasion attempts. On the 31st of October,1592. Da Ming welcomed the Ayuthaya mission with banquet.

ในระหว่างนี้ทัพหงสาวดียกมาตีกรุงศรีอยุธยาอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งครั้งนี้ เป็นการศึกครั้งเด็ดขาด และผลลัพธ์ก็แรงนัก ด้วยว่าสมเด็จพระนเรศวร ทรงได้ทำยุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชา มังสามเกียด เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2136 กระนั้นก็ดีแม้องค์พระมหากษัตริย์สยามจักทรงมีน้ำพระทัยกล้าหาญนัก อุปราชแห่งมณฑลกวางตุ้ง และกวางสีก็ถวายความเห็นต่อพระจักรพรรดิแห่ง ต้าหมิงว่า ต้าหมิง เป็นราชอาณาจักรอันยิ่งใหญ่เกินกว่าจะต้องการการสนับสนุนจากกองกำลังต่างแดน สยามก็ตั้งอยู่ห่างไกล เกรงว่ายากที่จะส่งทัพมาช่วย ต้าหมิงได้ การร่วมศึกครั้งนั้นจึงมิได้เกิดขึ้น


Meanwhile, the Hongsawadi had marched upon Ayuthaya once again, with decisive and disastrous results. In single combat on elephant-back. King Naresuan defeated the Hantawadi Viceroy Mang Samkeit on the 18th of January,1593. Despite the valor of the Siamese king, however, the Governor of Guang Dong and Guang Xi counseled the Chinese. Emperor that Da Ming was too great a kingdom to require the support of foreign troops. Siam, being so very distant, could hardly send an army to the aid of Da Ming. Therefore, the plan for a joint military effort was never realized.

การเสนอเตรีมทัพเพื่อร่วมรบพร้อมอาณาจักร ต้าหมิงครั้งนั้นแสดงให้เห็นว่า สมเด็จพระนเรศวร นั้นทรงมีน้ำพระทัยกล้าหาญ เผยถึงวิสัยทัศน์อันยิ่งใหญ่นัก กระนั้นเหตุการณ์ครั้งนี้มิได้ปรากฏในตำราเรียนทั่วไป ผู้สนใจอาจศึกษารายละเอียด ได้ในหนังสือ หมิงสื่อ

Although King Naresuan’s offer to join forces with the Middle Kingdom gives insight into his imaginative boldness, gallantry and vision, this story is seldom mentioned in textbooks. Those interested should look under Ming shi for further details.


คุณ นามตระการ แก้วอรรณเรือง
ได้รับ CPE (คะแนนดีมาก เคมบริดจ์ ) ซึ่งเป็นคุณวุฒิทางด้านความชาญภาษาสูงสุดที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มอบให้คนต่างชาติ ปัจจุบัน เป็นนักเขียน นักแปล และล่ามการประชุมระหว่างประเทศ


และ


ขอลอกข้อความ หนังสือ ภาพประวัติศาสตร์ชาติไทย เขียน และบรรยายด้วยภาพวาดลายเส้นขาวดำ ของ คุณเหม เวชกร เป็นหนังสือของ กรมมหาดไทย เล่ม1 พิมพ์เมื่อ กันยายนปี พ.ศ. 2501 เล่ม 2 พิมพ์ พฤศจิกายน ปี 2504

พระองค์มีแต่จัตุรังบาทกับทหารรักษาพระองค์เท่านั้นในท่ามกลางวงล้อมของพม่า
ด้วย วิสัยอันกล้าหาญแห่งพระองค์ ทั้งเชาวน์อันว่องไวดังสายฟ้า พระองค์รู้ว่า ศึกที่เป็นรองอยู่จะกลับเหนือได้ก็ตรงที่ว่าจะท้าสู้รบกันตัวต่อตัวกับพระมหาอุปราชา เพื่อยับยั้งไม่ให้ทหารพม่ารุมล้อมรบพระองค์ได้
คิดแล้วพระองค์จึงทรงไสช้างเข้าไปประชิด และร้องไปอย่างคุ้นเคยว่า “ เจ้าพี่จะยืนช้างอยู่ไยใต้ร่มไม้ เชิญเสด็จมาทำยุทธหัตถีกันให้เป็นเกียรติของกษัตริย์เถิด เพราะต่อไปกษัตริย์รุ่นหลังจะสามารถดังเราก็หาไม่ “
พระมหาอุปราชา ก็หยิ่งในเกียรติของกษัตริย์ แม้พระทัยแท้จะคร้ามเกรงฝีมือสมเด็จพระนเรศวรอยู่มาก แต่ด้วยมานะแห่งกษัตริย์ พระองค์ ทรงสั่งทหารมิให้รุมรบ แล้วไสช้างออกชน กับสมเด็จพระนเรศวร ทันทีนั้นเอง ฝ่ายพระคชาธารพระยาไชยานุภาพ ของจอมทัพไทย กำลังตกมัน ก็โถมแทงทันทีไม่ยับยั้ง จึงเสียทีพลายพัทธกอ ซึ่งได้ล่าง และแบกรุนเอาพระยาไชยานุภาพเบนเสียหลักแทบจะขวางตัวเป็นการเสียเปรียบเชิงยุทธ


พระมหาอุปราชาเห็นได้เชิง จึงเอาพระแสงของ้าวจ้วงฟันสมเด็จพระนเรศวรเต็มเหนี่ยว จอมทัพไทยทรงเอี้ยวพระองค์หลบ พระแสงง้าวจึงถูกปีกพระมาลาหนัง ปีกพระมาลาจึงขาดแหว่งไป (จากนั้นมาจึงเรียกพระมาลานี้ว่า พระมาลาเบี่ยง)


ต่อมพระไชยานุภาพสะบัดหลุด และกลับได้อยู่ล่างบ้าง จึงแบกรุนพลายพัทธกอ เบนหันข้าง สมเด็จพระนเรศวรจึงจ้วงฟันด้วยพระแสงง้าว อย่างสายฟ้าแลบ พระมหาอุปราชาหลบไม่ทันจึงโดนง้าวเข้าที่ไหล่ขาด ซบพระกายสิ้นพระชนม์อยู่กับคอช้าง

พระมหาอุปราชา สิ้นพระชนม์ เพราะเลือดขัตติยะ ของกษัตริย์ นั่นเอง
เป็นหนังสือ ที่คุณพ่อ ซื้อให้ ด.ญ.อมร เมื่อ 50 ปีมาแล้ว
แล้วก็ บทความของภาพยนตร์ ข้างบนเป็นของคุณ roytavan ดิฉัน ทำได้ ก็เพียง คัดลอก บทความดีดี ของผู้ทรงคุณวุฒิ มาเผยแพร่ต่อเท่านั้นเอง



Source :

http://en.wikipedia.org/wiki/King_Naresuan_(film)

http://www.kingnaresuanmovie.com/
The Legend of King Naresuan Part I at the Internet Movie Database
The Legend of King Naresuan Part II at the Internet Movie Database
Synopsis at MovieSeer
(Thai) Production photos at Deknang
The star of Siam's history at Asia Times Online

http://www.sook-ura.com/ppu/PPU_Cinephile_470414.html
http://www.asiapacificscreenawards.com/multimedia/videos/scene_by_scene_2008/page2

No comments:

Post a Comment

Note: Only a member of this blog may post a comment.