[News] Yon-sama visiting lacquer craftwork facility in Tokyo 03/07/2009 Mar 8, '09 4:02 AM
source: Nikkan sports
Japanese to English translation by tomato99
Thai Translation by Ladymoon
date: 7 March 2009
Korean actor Bae Yong Joon is staying in Japan in his private time.
It was revealed on 6th that he was visiting a lacquer craftwork facility in Tokyo.
Yon-sama is interested in Japan and Korea’s traditional craftwork.
Especially interested in lacquer ware, Yon-sama stayed in Morioka for one week and experienced lacquer craft.
He came to Tokyo at night on 4th. On 5th, he diligently visited a facility famous for lacquer craftwork in Tokyo.
At night, he went to Korean traditional restaurant “Gosireh” (Shirokane) for dinner and stopped by at a coffee shop in Omotesando afterward. Later at hotel, he had meetings until late at night.
He had a day off on 6th. His staying period is not determined.
เบยงจุนไปพักที่ญี่ปุ่นเป็นการส่วนตัว ข่าวนี้เปิดเผยเมื่อวันที่ 6 ที่ผ่านมา ว่าเขาไปเยือนแหล่งผลิตงานฝีมือภาพแล็คเกอร์ที่โตเกียว
ยอนซามะสนใจงานฝีมือแบบโบราณของญี่ปุ่นและเกาหลี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องใช้ที่ทำจากไม้เคลือบเงา ยอนซามะพักอยู่ที่โมริโอกะเป็นเวลา 1 สัปดาห์ และได้ลงมือทำงานภาพแล็คเกอร์ด้วยตัวเอง
เขาไปถึงโตเกียวเมื่อคืนวันที่ 4 และในวันที่ 5 เขาไปเยี่ยมชมสถานที่มีชื่อเสียงในการผลิตงานภาพแล็คเกอร์ที่โตเกียว
ตอนกลางคืนเขาไปที่ร้านอาหารเกาหลี “Gosireh” สาขาชิโรกาเน่ เพื่อรับประทานอาหารค่ำ และแวะที่คอฟฟี่ช้อปในโอโมเตะซันโดหลังจากนั้น เวลาต่อมาที่โรงแรม เขามีประชุมจนถึงตอนดึก
วันที่ 6 เป็นวันว่างของเขา การมาพักครั้งนี้ของเขายังไม่มีกำหนดระยะเวลาที่แน่นอน
BYJ & Lacquer Painting
ช่วงนี้ข่าวในญี่ปุ่นของเบยงจุนออกมาติดๆ กันเลยนะคะ และมีการเอ่ยถึงการที่เขาไปศึกษาวิธีการทำภาพแล็คเกอร์ ซึ่งที่จริงแล้วความสนใจด้านนี้ของเขาไม่ใช่เรื่องใหม่ จึงขอหยิบเอาข่าวเก่าเมื่อประมาณปลายปีที่แล้วขึ้นมาทบทวนความจำกันสักนิดนะคะ
Bae Yong Joon,
“I’m busy learning about lacquer painting and making kimjang (kimchi for the winter).”
2008.12.25 (Thurs) 19:05
Preparing a guide book for Korea.
Hallyu star Bae Yong Joon is learning and experiencing about Korean culture like lacquer painting and making kimjang (kimchi for the winter) to publish the picture guide book, “I Love Korea.”, which introduces Korea in the first half of next year. He will introduce the real aspect of “Korean artisanship” though this book. To introduce it correctly, he meets the artisans himself and is learning their endurances from them.
He started searching for the traditions extensively since August. From Mungyeong and Andong in Gyeongbuk, he visited Busan, Mountain Seolahk, and Buan in Jeonbuk. He met an artisan for lacquer painting for one month, and learned the secret method from an artisan for making kimjang. On Christmas Eve, he went to Park Jin Young’s concert and experienced a concert culture himself. His entourage for the trip consisted of four including his manager, an assistant camera man and a tour guide.
Several Japanese media tried to find his whereabouts when such news was reported. They found locations, but couldn’t take pictures. His management company set a very high price for the cost of “I Love Korea” due to the fact that he will be introducing Korea all over the world as a Hallyu star.
Segyeilbo, Reporter Park Jonghyeon. (Segye.com)
ดารายอดนิยม เบยงจุน กำลังเรียนรู้วัฒนธรรมเกาหลี อาทิเช่น การวาดภาพแล็คเกอร์ (วาดภาพบนแผ่นไม้แล้วเคลือบแล็คเกอร์ แบบเดียวกับภาชนะสไตล์ญี่ปุ่นหรือเกาหลี) และการทำคิมจาง (การทำกิมจิเก็บไว้สำหรับหน้าหนาว) เพื่อใช้ในการทำหนังสือท่องเที่ยว “I Love Korea” ซึ่งเป็นหนังสือแนะนำเกาหลีที่จะออกขายในปีหน้า เขาจะแนะนำ “งานศิลปะแบบเกาหลี” ผ่านหนังสือเล่มนี้ด้วย เพื่อความถูกต้องเขาจึงไปพบกับศิลปินพื้นบ้านด้วยตัวเองเพื่อเรียนรู้จากพวกเขา
เขาเริ่มออกค้นหาวัฒนธรรมพื้นบ้านเหล่านี้ตั้งแต่เดือนสิงหาคม จากมุงยองและอันดงในกยองบุก เขาไปถึงปูซาน เทือกเขาโซรัค และบูอันในจวนบุก เขาไปพบกับศิลปินพื้นบ้านด้านการวาดภาพแล็คเกอร์เป็นเวลา 1 เดือน และเรียนรู้เคล็ดลับจากผู้เชี่ยวชาญในการทำคิมจาง ในวันคริสต์มาสอีฟ เขาไปงานคอนเสิร์ตของปาร์คจินยอง และได้สัมผัสกับวัฒนธรรมในคอนเสิร์ตด้วยตัวเอง คณะผู้ติดตามของเขามี 4 คน คือผู้จัดการ ผู้ช่วยตากล้อง และไกด์
มีสื่อญี่ปุ่นพยายามเสาะหาว่าเขาอยู่ที่ไหนเมื่อข่าวนี้แพร่ออกไป พวกเขาตามไปจนพบสถานที่นั้น แต่จับภาพไว้ไม่ได้ บริษัทของเขาทุ่มทุนไปมากสำหรับ “I Love Korea” เพื่อให้เขาได้แนะนำประเทศเกาหลีสู่สายตาชาวโลกในฐานะดาราผู้นำกระแสเกาหลี
ทีนี้เรามารู้จักศิลปะการวาดภาพแล็คเกอร์ (Lacquer Painting) กันสักนิดนะคะ
Lacquer is actually a resin made from the highly toxic saps of lacquer trees, which happens to be a variant of poison ivy. Lacquer on wood, often referred to as a natural plastic, is remarkably resistant to water, acid and heat.
The secret to this resistance to heat and water lies in a coating of many layers. The coloring is normally black or dark brown, although variation may come through adding natural and artificial agents.
Now since it's highly toxic and is in fact a variant of poison ivy, it can cause very serious skin rashes, especially if one is not careful.
The production of lacquerware in East Asia has been dated back at least 9,000 years. Korean lacquerware in particular developed in terms of quality and sophistication during the Koryo period, from AD 918 to 1392. Later improvements in lacquer manufacturing made lacquerware widely available for everyday use by middle-class Koreans.
Raw lacquer is a dull brownish black color; in order to create the many brilliant colors found in painting and crafts, artists must add precise amounts of different mineral pigments. The lacquer must be painstakingly built up in layers and requires a specific temperature and humidity to dry and harden. A fine polishing then reveals flawless, shiny surfaces that can be carved or inlaid with various materials. Korea has a long tradition of producing exquisite inlaid lacquer and furniture and fine craftsmanship is evident in the extremely high quality of contemporary manufactured furniture and household objects.
การวาดภาพแบบนี้จะคล้ายๆ เรซิ่น โดยมีการเคลือบผิวไม้จนดูคล้ายๆ พลาสติก ซึ่งทนต่อน้ำ กรด และความร้อน เคล็ดลับก็คือต้องเคลือบหลายๆ ชั้น ส่วนใหญ่จะทำออกมาเป็นสีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม แต่เพราะสารธรรมชาติที่ใช้เคลือบนั้นมาจากเถาไม้มีพิษ จึงอาจทำให้เกิดผื่นแดงบนมือของผู้เคลือบได้ถ้าไม่ระวัง
ผลิตภัณฑ์ไม้เคลือบนี้มีในเอเชียตะวันออกมานานตั้งแต่ 9,000 ปีก่อน ภาชนะไม้เคลือบแบบนี้ได้พัฒนาคุณภาพมาตั้งแต่สมัยโคเรียว ในช่วงปี ค.ศ. 918 – 1392 จนต่อมาเป็นที่นิยมใช้กันมากในชนชั้นกลางของชาวเกาหลี
สารธรรมชาติที่ใช้เคลือบนั้นมีสีออกดำ การจะทำให้ได้ภาพที่มีสีสันสดใส ศิลปินจะต้องใช้สีธรรมชาติจากแหล่งต่างๆ เข้ามาเสริม การเคลือบต้องอาศัยอุณหภูมิและความชื้นที่พอเหมาะในการทำให้แห้งและเพื่อความแข็งแรงทนทาน งานชิ้นที่เคลือบอย่างงดงามจะไร้ที่ติ พื้นผิวมันเป็นเงา สะท้อนชิ้นงานศิลปะอันงดงาม ชาวเกาหลีได้สืบทอดศิลปะเคลือบไม้แบบนี้มายาวนาน ทั้งบนเฟอร์นิเจอร์และข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ
...Hallyu began roughly 12 years ago when the rest of Asia discovered Korean soap operas. One of the breakthrough dramas was a series 'Winter Sonata' starring Choi Ji-woo & Bae Young-Joon. After that, more Korean dramas saw their way to foreign shores and Korean films and music started to follow suit. Korean marketing people started to see a Korea-centric trend. They dubbed this flow "The Korean Wave" or Hallyu....
8.3.09
BYJ & Lacquer Painting. by Ladymoon.
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
Hope you have a nice day in Japan BYJ.
ReplyDeleteSuccessfull will be you good luck.
ReplyDelete