Gwangbokjeol มีการเฉลิมฉลองกันทุกปีในวันที่ 15 ส.ค. ซึ่งถือเป็นวันหยุดนักขัตฤกษ์ในประเทศเกาหลีใต้ เพราะเป็นวันที่ประเทศเกาหลีประกาศอิสรภาพจากการปกครองของญี่ปุ่น และเป็นวันที่ประเทศญี่ปุ่นประกาศความพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลเกาหลีใต้จึงถือกำเนิดในอีก 3 ปีต่อมา Syngman Rhee ขึ้นสาบานตนเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรกของประเทศเกาหลีใต้
Independence Day Events Held at Gwanghwamun
KBS Global [2010-08-15, 11:55:03]
Events commemorating the 65th Independence Day have been held at Gwanghwamun Square in Seoul.
The nameplate of the restored Gwanghwamun royal gate was unveiled Sunday and other ceremonies followed.
Some 45-hundred guests attended including veterans, government officials, foreign diplomats and civic representatives.
Some 340 people were awarded for meritorious service.
A youth choir including 200 children from multicultural families performed an Independence Day song.
All of Gyeongbok Place was opened to the public following the unveiling of the traditional gate of Gwanghwamun, the main entrance to the palace.
This year also marks the centennial anniversary of Japan's forced annexation of Korea.
ได้มีการจัดงานฉลองครบรอบ 65 ปีวันประกาศอิสรภาพของประเทศเกาหลีใต้ขึ้นที่จัตุรัส “ควางฮวามุน” ในกรุงโซล ได้มีการเปิดป้ายประตูกวางฮวามุนที่ได้รับการบูรณะใหม่และตามมาด้วยพิธีเฉลิมฉลอง แขกกว่า 45,000 คนมาร่วมเฉลิมฉลอง
Gwanghwamun (Hangul: 광화문; Hanja: 光化門) is the main and largest gate of Gyeongbokgung Palace, located in Seoul, South Korea. As a landmark and symbol of Seoul's long history as the capital city during the Joseon Dynasty, the gate has gone through multiple periods of destruction and disrepair. Recent restoration work on the gate was finished and revealed to the public on August 15, 2010.
Gwanghwamun was first constructed in 1395 as the main gate to Gyeongbokgung Palace, the main and most important royal palace during the Joseon Dynasty. During the 1592 Japanese Invasion, it was destroyed completely by the Japanese.
ควางฮวามุนเป็นประตูที่ใหญ่ที่สุดของพระราชวังเคียงบ๊ก อยู่ในกรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ ถือเป็นสัญลักษณ์ของประวัติศาสตร์อันยาวนานของกรุงโซล ในฐานะเมืองหลวงตั้งแต่สมัยโชซอน ประตูแห่งนี้ผ่านการถูกทำลายและการบูรณะมาแล้วหลายต่อหลายครั้ง ในที่สุดการบูรณะครั้งล่าสุดก็เสร็จสมบูรณ์ และเปิดเผยสู่สายตาสาธารณะชนในวันที่ 15 ส.ค. (ก็คือวันนี้) ซึ่งเป็นวันประกาศอิสรภาพของประเทศเกาหลี
ควางฮวามุนถูกทำลายอย่างยับเยินในช่วงที่ญี่ปุ่นบุกเข้ามารุกราน ในปี 1592
However, Gwanghwamun was reconstructed in 1867 along with the rest of Gyeongbokgung Palace by the order of regent Daewongun during the reign of Emperor Gojong. The gate stood until 1926, when the Japanese government had it deconstructed and moved it just to the southeast of the current location of the National Folk Museum of Korea to make way for the massive Japanese Governor General Building.
The Korean war completely destroyed the wooden structure of Gwanghwamun, and its stone base lay in complete disrepair and neglect. In 1963, during Park Chung-hee's administration, the stone base was again relocated in front of the Japanese Governor General Building. The destroyed wooden structure was rebuilt in concrete, while the sign on Gwanghwamun was written by Park himself. Gwanghwamun remained as a concrete gate until late 2006.
Gwanghwamun underwent a major restoration project since December 2006 and was finished in August 2010. The gate was disassembled and moved back to its original location 14.5 meters to the south, and its wooden structure was again reconstructed in wood. It was rotated in order to accurately place the gate to its original location, which perfectly aligning it with the main north-south axis of Gyeongbokgung Palace. The restoration was commenced by the Korean government because an earlier attempt at restoration used concrete instead of traditional material and also aligned the gate with the entrance of the Governor General Building, now destroyed.
The aim of the latest renovation was to restore Gwanghwamun to its original wooden construction with meticulous historical accuracy. The sign of Gwanghwamun was recreated by analyzing its century-old glass plate photographs, while its wooden structure was made from a blueprint created in 1925 by the Japanese Colonial Government. Pine wood used in the construction was painstakingly picked in Korea as the use of foreign imported wood for historic buildings was strictly forbidden.
แต่ต่อมาได้มีความพยายามบูรณะซ่อมแซมพร้อมๆ กับพระราชวังเคียงบ๊ก แต่เมื่อเกิดสงครามเกาหลี โครงสร้างไม้ของประตูถูกทำลายลง ฐานหินถูกทิ้งไว้โดยไร้คนสนใจ ควางฮวามุนได้รับการบูรณะครั้งใหญ่ตั้งแต่เดือน ธ.ค. ปี 2006 และมาเสร็จสิ้นในเดือน ส.ค. ปี 2010 ประตูถูกประกอบขึ้นใหม่และย้ายกลับไปไว้ตรงตำแหน่งเดิม โครงสร้างไม้ถูกสร้างขึ้นใหม่ให้เหมือนของเดิม จุดประสงค์ของการบูรณะครั้งนี้เพื่อทำให้ควางฮวามุนกลับสู่สภาพเดิมเหมือนในครั้งอดีตกาลตรงตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ สัญลักษณ์ต่างๆ ถูกสร้างขึ้นใหม่โดยอาศัยภาพเก่าแก่ที่นานนับร้อยปีเป็นต้นแบบ ส่วนโครงสร้างไม้สร้างตามแบบพิมพ์เขียวของรัฐบาลสมัยที่อยู่ภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น เมื่อปี 1925 ต้องมีการออกไปเสาะหาต้นสนอย่างยากลำบากเพราะการนำเข้าไม้เพื่อมาสร้างโบราณสถานถือเป็นสิ่งต้องห้ามในประเทศเกาหลี
The area in front of Gwanghwamun, known as the Gwanghwamun Plaza, was opened with a new plaza area in August 2009.
Gwanghwamun was opened to the public in August 15, 2010 to commemorate Gwangbokjeol.
พื้นที่ด้านหน้าของควางฮวามุน คือควางฮวามุนพลาซ่า หรือจัตุรัสควางฮวามุน ที่เพิ่งเปิดใหม่เมื่อเดือน ส.ค. 2009 (หากใครได้ดู IRIS คงคุ้นตากับจัตุรัสควางฮวามุนนี้นะคะ เพราะเป็นตรงที่พวกคุณพี่ทั้งหลายแกวิ่งไล่ยิงกันนั่นแหละค่ะ)
ประตูควางฮวามุนเปิดเผยสู่สายตาสาธารณะชนในวันที่ 15 ส.ค. นี้เพื่อเฉลิมฉลองวันประกาศอิสรภาพ Gwangbokjeol (เปิดใหม่หมาดๆ วันนี้เอง เราโชคดีมากๆ ที่จะได้ไปเยือนพระราชวังเคียงบ๊ก พร้อมกับได้ชมผลงานจากความมานะพยายามอันยาวนาน ในการประกอบประตูนี้ขึ้นมาใหม่ให้เหมือนกับของเก่าเป๊ะๆ ช่วยมาทำแถวอยุธยาบ้างได้มั้ยเนี่ย โดนเผาซะเรียบเหมือนกัน)
[Special Thanks to Wikipedia.org]
Gwanghwamun Plaza on DiscoveringKorea.com
No comments:
Post a Comment
Note: Only a member of this blog may post a comment.